Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ - Coggle Diagram
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ
Concept of trauma care
Primary Assessment
การตรวจดูเรื่องทางเดินหายใจ
Secondary Assessment
เป็นการประเมินผู้บาดเจ็บอย่างละเอียดในระบบต่างๆ
การประเมินความเจ็บปวด
PQRST
•P : Pain
•Q : Quality of the pain
•R : Region and radiation
•S : Severity
•T : Timing
การซักประวัติโดยละเอียด
AMPLE
A : Allergies (แพ้ยา อาหาร) M : Medication (ยาที่รับประทานประจ า)
P : Past illness and surgical history (เจ็บป่วยในอดีต และการ ผ่าตัดในอดีต)
L : Last meal and last tetanus immunization\ (รับประทานอาหารครั้งสุดท้าย ? ฉีดบาดทะยักครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่)
E : Events and environment leading to injury
Mechanism of injury
ทิศทางของ impact
ชนิดและความรุนแรงของการบาดเจ็บ
การใช้อุปกรณ์ช่วย
II. Anatomy of injury
บาดเจ็บแบบทะลุทะลวงบริเวณ ศีรษะ คอ และล าตัว 2. ภาวะอกรวน Flail chest
แผลไหม้ >10%ร่วมกับสูดส าลักควันความร้อน
กระดูกขาหัก >2 แห่ง
กระดูกเชิงกรานหัก
6.อัมพาตของแขนขา
7.ตัดขาดอวัยวะ
III . Machanism of injury
กระเด็นออกจากยานพาหนะ
มีผู้เสียชีวิตร่วมด้วยในการบาดเจ็บครั้งนี้
ใช้เวลาในการช่วยเหลือผู้ป่วยออกจากที่เกิดเหตุนานกว่า 20 นาที ตกจากที่สูง 20 ฟุต
กระบวนการดูแลผู้บาดเจ็บฉุกเฉินจากแนวทางของ
American Trauma Life Support
การสังเกตอาการผู้บาดเจ็บ
สติสัมปชัญญะ
สภาพร่างกายที่ปรากฏ
กลิ่น
สิ่งแวดล้อมที่ตามมากับผู้ป่วย
Primary Assessment
A : airway
การดูแลเบื้องต้นเกี่ยวกับการหายใจ
การเอาสิ่งแปลกปลอมออกจากปากและลำคอ
การเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง
การใส่ airway
การให้ออกซิเจนผ่านหน้ากากชนิดต่างๆ
5.การใช้วิธีพิเศษในการดูแลทางเดินหายใจ
การดูแลทางเดินหายใจในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาสำคัญ
ผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีการบาดเจ็บต่อกระดูกสันหลังส่วนคอ
ควรได้รับการป้องกันโดยจัดให้อยู่ในท่าศีรษะตรง ประกบศีรษะ
ด้วยหมอนทรายทั้ง 2 ด้าน
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บต่อกล่องเสียงและหลอดลมแตก
ควรทำ Tracheostomy ต่ำกว่าตำแหน่งที่บาดเจ็บ
ใช้ brochoscope ช่วยในการใส่ endotracheal tube
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บต่อใบหน้า
ควรจัดให้นอนตะแคง ยกคางและขากรรไกรขึ้นแล้วจึงใส่
Laryngoscope เพื่อใส่ endotracheal tube
B : Breathing and ventilation
คลำ
เคาะ
ดู
ฟัง
ABG
Pulse oximetry
Pulse oximetry
ปัญหาการหายใจที่คุกคามชีวิต
Tension pneumothorax
Open pneumothorax
3 Flail chest
Massive hemothorax
C : Circulation
Hypovolemic shock
สาเหตุ
เสียน้ำเช่น แผลไหม้
Cardiogenicshock shock
อาการ
-หัวใจเต้นเร็ว
-ความดันโลหิตตก
-หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
-เสียงหัวใจดังอู้อี้ไม่ชัด
-ไม่ตอบสนองต่อการให้สารน้ำ
Neurogenic shock
สาเหตุ
spinal cord injury
Septic shock
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อเข้าสู่กระแสเลือด โดยมากมักเกิดจากการบาดเจ็บ
ต่ออวัยวะกลวงของช่องท้อง เนื่องจากวินิจฉัยได้ล่าช้า
Disability, Deformities, Drainage
Disability
A : alert
V : vocal stimuli
P : pain stimuli
U : unresponsive
Deformities
การประเมินความผิดปกติของระบบกล้ามเนื้อและกระดูก โดยดูที่
รูปร่างและหน้าที่ การทำ งานผิดปกติไปหรือไม่
Drainage
เป็นการสังเกตสิ่งขับหลั่งจากปาก จมูก ช่องหู บริเวณ penis และ
urethral meatus เพื่อการวินิจฉัยต่อไป
E: Exposure, Environment control, EKG
ดูแลความอบอุ่น แก่ผู้ป่วยให้เพียงพอ เพื่อป้องกันภาวะhypothermia ด้วยวิธิการต่อไปนี้ เช่น ผ้า ห่ม เครื่องhyperthermia อุ่นสารน้า ที่ทำ ให้อากาศที่หายใจเข้าอุ่น เป็นต้น
ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
• การถอดเสื้อผ้าผู้บาดเจ็บเพื่อการประเมินที่ชัดเจน สารวจดูทั้งด้านหน้า
และด้านหลัง
F : Fluid, Foley
การประเมิน content จากทางเดินอาหาร ,การดูแล NG tube
การใส่ท่อทางเดินปัสสาวะ ประเมินปัสสาวะ , ส่งปัสสาวะตรวจวิเคราะห์
ส่วนประกอบของน้ าปัสสาวะ
การเจาะเลือดส่งตรวจค่า ABG, Hct, WBC, PT, PTT, type & cross - match, electrolytes, alcohol level Cardiac enzymes (ถ้ามีการบาดเจ็บต่อหัวใจ) และอื่นๆ ที่จำเป็น
การวิเคราะห์ปริมาณสารน้ำที่ควรได้รับ
CPR 2020
Basic Life Support
B: Breathing
ทำขั้นตอน C-A-B
A: Airway
C: Chest compression
ตำแหน่งในการวางมือของการปั๊มต้องวางมือตรงส่วนล่างของกระดูก
หน้าอก
CPR ในสถานการณ์การระบาดของ COVID-19
Airway Issue
Defibrillation
Chest Compression COVID 19
Medications
การทำ CPR
Post Arrest Care
บันทึกรายชื่อ ผู้เข้าร่วมในการทำ CPR ทุกคน
การดูแลหลังการกู้ชีวิต
ให้ O2 ให้น้อยที่สุด เพื่อรักษาระดับ O2 sat ให้ >= 94%
ช่วยหายใจด้วยอัตรา 10-12 ครั้ง/นาที โดยให้ระดับ PETCO2 อยู่ ในช่วง 35-45 mmHg
รักษาภาวะความดันโลหิตต่ำโดยให้ SBP >= 90 mmHg ด้วยการให้ IV fluid หรือยา vasopressor (Dopamine, Adrenaline, Norepinephrine)
Multiple trauma, Multiple injury
•สมอง
•การบาดเจ็บช่องท้อง
•กระดูกซี่โครงหัก มีเลือด&ลมในช่อง
•เยื่อหุ้มปอด & เลือดออกในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
•กระดูกสันหลังส่วนคอ
Abdominal injury
การบาดเจ็บของช่องท้อง
บาดเจ็บที่ไม่มีแผลทะลุ
บาดเจ็บที่มีแผลทะล
การบาดเจ็บของช่องท้อง
การตรวจร่างกาย
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ซักประวัต
การตรวจรังสีพิเศษ
Ultrasound
การเจาะท้อง (abdominal paracenthesis )
การล้างท้อง (Peritoneal lavage)
Fractured pelvis
Diagnosis
Management of pelvic fracture
การรักษา
External fixation เป็นการใส่ pin fixator ลงไป
นอกจากนี้ยังมีข้อจำกัดคือ frame bars ของ external fixator อาจจะไป
บดบังภาพการทำimaging
แนวทางการรักษาพยาบาลผู้ป่วย
Multiple Trauma
Breathing assessment
Circulatiry assessment
Airway assessment
Specific injury assessment และ Specific management
แพทย พยาบาลวิชาชีพ / ทีมการพยาบาล
Diaster nursing
D – Detection
I - Incident command
S – Safety and Security
A – Assess Hazards
S – Support
T – Triage/Treatment
E – Evacuation
R – Recovery
MASS Triage
A-Assess
S-sort
M-Move
S-send