Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cellulitis, ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล, ข้อวิจฉัยทางการพยาบาล,…
Cellulitis
-
การรักษา
- การใช้ยาปฏิชีวนะชนิดรับประทานหรือชนิดฉีดอย่างรวดเร็วตามความเหมาะสมกับความรุนแรงของอาการและชนิดของเชื้อแบคทีเรีย
- ในรายที่มีไข้หรือมีอาการปวดร่วมด้วย ผู้ป่วยควรได้รับยาลดไข้ ยาแก้ปวดเพื่อบรรเทาอาการ
- ผู้ป่วยควรยกอวัยวะส่วนที่ติดเชื้อขึ้นสูงกว่าพื้นราบ เช่น หนุนขาข้างมีรอยโรคให้สูงด้วยหมอนรองเพื่อช่วยลดอาการบวม
- หากมีผื่นหรือมีแผลที่ผิวหนังควรมีการดูแลรักษาที่เหมาะสม เช่น มีการทำความสะอาดแผลและทำแผล รวมทั้งมีการรักษารอยโรคเดิมที่ผิวหนัง เช่น ในคนไข้ที่มีเชื้อราหรือผื่นผิวหนังอักเสบอื่นๆทั้งนี้ควรดูแลตามคำแนะนำของแพทย์พยาบาลที่ดูแลรักษา
-
-
สาเหตุ
Cellulitis เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ชนิดที่พบได้บ่อย คือ แ และ Staphylococcus ที่เข้าสู่แผลทางผิวหนังหรือผิวหนังที่แตกแห้ง แผลผ่าตัด แผลแมลงสัตว์กัดต่อย หรืออื่นๆ แต่ทั้งนี้ Cellulitis ไม่ใช่โรคติดต่อเนื่องจากเป็นการติดเชื้อที่ผิวหนังชั้นใน จึงไม่สามารถรับเชื้อมาจากผู้อื่นได้
พยาธิสภาพ
Cellulitis (โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ) คือ การที่บริเวณผิวหนังติดเชื้อแบคทีเรีย และมีอาการอักเสบโดยเชื้อแบคทีเรียนี้อาจจะผ่านเข้าสู่ผิวหนังจากแผลเปิด หรือผิวหนังที่บอบบาง เมื่อติดเชื้อแล้วจะทำให้ผิวหนังมีอาการปวดร้อนบวม แดง บริเวณนั้น สามารถแพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว บางรายอาจมีไข้หรืออาการอื่น ๆ ร่วมด้วย หากมีการติดเชื้อขั้นรุนแรง การติดเชื้ออาจจะเข้าสู่กระแสเลือดทำให้อันตรายถึงชีวิตได้ ซึ่งภาวะนี้สามารถเกิดขึ้นได้ทุกส่วนบนร่างกาย แต่มักเกิดบริเวณขา รวมถึงสามารถแพร่กระจายไปในต่อมน้ำเหลืองได้ด้วย
-
การวินิจฉัย
แพทย์ะสามารถวินิจฉัย Cellulitis ได้เพียงแค่การประเมินทางสายตา และ การตรวจร่างกายเพิ่มเติม หรือบางครั้งอาจจะมีการตรวจเลือด
-
-
-
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่ เช่น local gangrene, necrotizing faciitis หรือเกิดมี localized abscesses หรืออาจมีภาวะแทรกซ้อนตามระบบเช่นมี severe sepsis หรือการติดเชื้อไปตามกระแสเลือดเกิดภาวะinfective endocarditis, septic arthritis หรือมี cavernous sinus thrombosis หรือเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นผลตามมาหลังจากการติดเชื้อ streptococcus เช่น post-streptococcal glomerulonephritis ซึ่งมักพบในเด็ก และอาจพบภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจาก toxin ของเชื้อซึ่งพบได้น้อยคือ Streptococcal Toxic Shock Syndrome
นอกจากนั้นการเกิดโรคไฟลามทุ่งและโรค cellulitis ถ้าเป็นซ้ำบ่อยๆ ก็อาจเกิดทำให้มีภาวะ lymphatic obstruction เกิดขึ้นได้
-
-
-
-1 อาทิตย์ก่อน เริ่มมีรอยแดงที่ขาซ้ายและมีขนาดใหญ่ขึ้น บวมแดงมาก
-2 วันก่อนมาเริ่มมีไข้ แผลที่ขาซ้ายมีขนาดใหญ่ขึ้นและบวมแดงมากขึ้น ญาติจึงนำส่งโรงพยาบาล
-
-
sepsis
-
-
ประมาณ 5% เกิดจากแบคทีเรียชนิดก่อภาวะนี้ได้บ่อย (Classic pathogens เช่น H.influenzae, Neisseriameningitidis, Streptococcus pyogenes และ S.pneumoniae)
-
-
-
-
-
-