Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสาหรับความเป็นครู - Coggle Diagram
ภาษาและวัฒนธรรมไทยสาหรับความเป็นครู
1.ความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมไทยสาหรับความเป็นครู
ช่วยเสริมสร้างความรู้และเข้าใจในบริบทสภาพแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี วิถีชีวิตของผู้คนในแต่ละพื้นที่ที่มีความแตกต่าง ทั้งภูมิภาคของประเทศไทย ภาคเหนือ อีสาน กลาง ใต้ ตะวันออกและตะวันตก
2.คุณลักษณะความเป็นครู
บทบาทของครูตาม TEACHERS MODEL
C – Cultural Heritage (การสืบทอดวัฒนธรรม) หมายถึง ครู อาจารย์ ตองทำหน้าที่และรับผิดชอบในการสืบทอดวัฒนธรรมจากคนรุนหนึ่ง ไปยังคนอีกรุนหนึ่ง
H – Human Relationship (มนุษย์สัมพันธ์) หมายถึง ครูอาจารย์ต้องทาตัวให้มีมนุษย์สัมพันธุ์ที่ดีต่อบุคคลทั่วๆ ไปเพราะการมีมนุษย์สัมพันธุ์ที่ดีจะช่วยให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าที่ การงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
A – Academic (วิชาการ) หมายถึง การที่ครูตองมีหน้าที่และความรับผิดชอบในทางวิชาการ ทั้งของตนเองและของลูกศิษย์
E – Evaluation (การประเมินผล) หมายถึง การประเมินผลการเรียนการสอน ของนักเรียน มีความสำคัญอย่างยิ่งเพราะการประเมินผลการเรียนการสอนเป็นการวัดความเจริญ ก้าวหนาของลูกศิษย์ในด้านต่าง ๆ
E – Ethics (จริยธรรม) หมายถึง การที่ครูมีหนาที่และความรับผิดชอบในการสงเสริมจริยธรรมให้แกนักเรียน ซึ่งถือว่าเป็นหน้าที่และความรับผิดชอบที่สำคัญ
R – Research (การวิจัย) หมายถึง การที่ครูต้องเป็นนักแก้ปัญหา เพราะการวิจัยเป็นวิธีการแก้ปัญหาและการศึกษาหาความรูความจริงที่เชื่อถือไดโดยใช้วิธีการที่เชื่อถือได้
T – Teaching (การสอน) หมายถึง บทบาทในการทาหน้าที่สั่งสอนศิษย์ให้เป็น คนดีมีความรูในวิชาการทั้งปวง
S – Service (การบริการ) หมายถึง การให้บริการแกศิษย์ผู้ปกครองและชุมชน
คุณลักษณะของครูที่ดี
การสอนดีและปกครองดี คือ อธิบายได้แจ่มแจ้งชัดเจนครบทุกกระบวนความ สอนสนุกสนาน ปกครองดูแลนักเรียนให้อยู่ในระเบียบวินัยที่ดีงาม
ความประพฤติดี คือ เว้นจากอบายมุขทุกอย่าง แต่ความดีทั้งกาย วาจา ใจ มีคุณธรรมและจริยธรรมสูง มีความซื่อสัตย์ เสียสละ มีเมตตากรุณา มีความยุติธรรม และมีมานะอดทน
มีความรู้ดี มีความคิดสร้างสรรค์ เชื่อมั่นในตนเอง กระตือรือร้นและสุขภาพแข็งแรง
มีมนุษย์สัมพันธ์อันดี คือ มีอัธยาศัยไมตรีกับคนทุกเพศ ทุกวัย และมีน้าใจเป็นประชาธิปไตย
บุคลิกที่ดี คือ รูปร่างท่าทางดี แต่งกายสะอาด สุภาพเรียบร้อย พูดจาไพเราะ และมีลักษณะเป็นผู้นำ
3.บทบาทของครูในฐานะผู้ถ่ายทอดภาษาและวัฒนธรรม
3.1มุมมองต่อวัฒนธรรมในยุคปัจจุบัน
ในแต่ละสังคมก็มีความแตกต่างของรูปแบบการดาเนินชีวิตของผู้คนมากมายซึ่งเกี่ยวโยงเรื่องของกลุ่มคน ชนชั้น ภาษา ชาติพันธุ์ เพศสภาวะ และอื่น ๆ
3.2วัฒนธรรมไทยกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมหลัก วัฒนธรรมรอง (หรืออนุวัฒนธรรมที่เรียกเป็นภาษาอังกฤษว่า subculture) และวัฒนธรรมสากล (หรือที่เรียกว่า global culture)
3.3วัฒนธรรมไทยประจำภูมิภาค
กำเนิดจากวิถีชีวิต สภาพแวดล้อม ศาสนาและวัฒนธรรม สอดประสานกับความเคารพในธรรมชาติที่ผันผ่านตามฤดูกาล เกิดประเพณีในรอบปฏิทินตามภูมิภาคทั้ง 4ของไทย สัมพันธ์กับภูมิประเทศ เชื้อชาติ วัฒนธรรมของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์
4.แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ภาษาและวัฒนธรรมเป็นฐาน
4.2เทคนิคในการถ่ายทอดของครู
เทคนิคการสอนบรรยาย
เทคนิคการทาให้ผู้เรียนเข้าใจและจำง่าย
เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน
4.1ศิลปะการถ่ายทอดของครูมืออาชีพ
เพื่อพัฒนาคนไทย ให้เป็นคนดี เป็นคนเก่ง และมีความสุขในชีวิต
4.3เทคนิคการสร้างอารมณ์ขัน
สะสมจัดจาประโยค คาพูดที่ดี และสร้างสรรค์
นามาดัดแปลงแต่งเล็กน้อยเอาไว้ใช้ในการสนทนาปราศรัยกับบุคคลต่างๆ
มีความแหลมคม จดจาและบันทึก คาพูดหรือประโยคที่ใช้คาแหลมคมทั้งหลาย
แสดงถูกกาลเทศะ คือ พูดให้เหมาะสม กับเวลา บุคคล โอกาสและสถานที่
มองโลกในแง่ดี
4.4ศิลปะในการสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้
สร้างแรงจูงใจ โดยวิธีการถ่ายทอดที่ผสมผสาน คำนึงความสามารถในการเรียนรู้
ต้องคำนึงถึงประสบการณ์ในอดีตของผู้เรียน
ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ครูควรสร้างบรรยากาศที่เป็นกันเองและท้าทาย
แนะแนวหรือชี้นามากกว่าการสอน
ให้ผู้เรียนมีอิสระในการคิดการทา
ใช้วิธีสอนที่หลากหลาย
ครูควรจัดกิจกรรมให้สัมพันธ์หรือสอดคล้องกับสภาพปัญหาที่เป็นอยู่
การจัดกิจกรรมควรให้ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ทันที