Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในารจัดการภาวะภูมิต้านไวเกิน และปฎิกิริยาจากการให้ยาเคมีบำบัดทา…
บทบาทพยาบาลในารจัดการภาวะภูมิต้านไวเกิน และปฎิกิริยาจากการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ
การป้องกันและการจัดการภาวะภูมิไวเกินและปฏิกิริยาจากการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ
การให้ยานำ(premedication drugs)
การปรับระับอัตราการไหล หรือปรับขนาดยาเพิ่มขึ้นทีละน้อย
การทดสอบทางผิวหนัง
การทำskin test ในการให้ยาเคมีบำบัด
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย
ความรู้เกี่ยวกับอาการแรกของภาวะภูมิไวเกินก่อนการให้ยาเคมีบำบัด
ประเมินหรือทบทวนปัจัจยเสี่ยงได้แก่ ปัจจัยด้านตัวยาเคมีบำบัดที่ผู้ป่วยได้รับ
อายุ เพศ ประวัติการแพ้ยา โรคร่วมและผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การประเมินและจัดการภาวะไวเกินและปฎิกิริยาจากการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำ
ขอความช่วยเหลือจากทีม
จัดท่าให้ผู้ป่วยสุขสบาย
ประเมินอาการที่พบมีอาการระดับน้อย-รุนแรง
เมื่อเกิดอาการจัดตามแนวทางหรือแผนการดูแล หยุดให้ยา
ตรวจสอบวัดสัญญาณ ถ้าระดับน้อยถึงปานกลางประเมิน 15นาทีชั่วโมงถ้ารุนแรงให้ประเมินทุก2นาทีจนกระทั่งอาการคงที่
ประเมินอาการหรือสังอาการ ผิดปกติก่อนและหลังให้ยา
เตรียมความพร้อมอุปกรณ์และยาในการช่วยชีวิต
รายงานแพทย์เมื่อมีระดับปานกลาง-รุนแรง grade ll ขึ้นไป
ดูแลให้ยาตามแผนการรักษาหรือตามแนวทางของสถาบัน/โรงบาล
ในผู้ป่วยที่มีอาการระดับรุนแรงจะให้ high flow Oxygen ในอัตรา10-15ลิตร/นาทีร่วมกับการประเมินอย่างใกล้ชิด
ในกรณีผู้ป่วยอาการดีขึ้นและกลับมาให้ยาอีกครั้ง ดูแลให้ยานำตามแผนการรักษา
ติดตามอาการต่อ8-24ชั่วโมง ในผู้ป่วยอารการระดับรุนแรง เพื่อเฝ้าระวังการกลับซ้ำของอาการ
ลงบันทึกทางการพยาบาล ประสานข้อมูลจากทีมเภสัชกร หรือทีมการเฝ้าระวังปฎิกิริยาจากการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำของสถาบัน/โรงบาล
การสอนผู้ช่วยก่อนจำหน่ายออกจากโรงบาล
สังเกตอาการผิดปกติที่เกิดล่าช้า
การดูแลตนเองเมื่อกลับไปอยู่บ้านและเตรียมความพร้อมก่อนครั้งถัดไป
อาการระดับความรุนแรง
หน้าแดง มีผื่น มีการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจ และความดันโลหิต หายใจลำบบาก