Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๙ การพยาบาลวัยทารกจนถึงวัยรุ่นแบบองค์รวมที่มีความผิดปกติของหัวใจและ…
บทที่ ๙
การพยาบาลวัยทารกจนถึงวัยรุ่นแบบองค์รวมที่มีความผิดปกติของหัวใจและการไหลเวียนเลือด
ความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด
(Congenital Heart Disease)
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดเขียว
(Cyanotic Heart Disease)
กลุ่มเลือดไปปอดมาก
(Increased pulmonary blood flow)
มีการสลับที่ของเส้นเลือดดำและเส้นเลือดแดงใหญ่ (transposition of the great vessels)
อาการและอาการแสดง
เขียว เหนื่อยง่าย อาการของภาวะหัวใจวาย
จัดเป็นกลุ่มที่มีเลือดไปปอดมากและเขียวมาก มักจะเห็นเขียวตั้งแต่กำเนิด เพราะเลือดดำจะออกจากหัวใจซีกขวาและไปเลี้ยงร่างกาย แล้วกลับมาเข้าหัวใจซีกขวาใหม่
ภาวะแทรกซ้อน
ฝีในสมอง
ติดเชื้อในหัวใจ
ความดันเลือดในปอดสูงถาวร
การรักษา
การรักษาภาวะหัวใจวาย
การผ่าตัด
มีเลือดดำและเลือดแดงปนกัน (common mixing chambers)
อาการและอาการแสดง
กลุ่มนี้จะเขียวไม่มาก
มีลักษณะอาการของหัวใจวาย เช่น หายใจเร็ว เหนื่อยง่าย เหงื่อมาก เลี้ยงไม่โต ตับโต หัวใจเต้นเร็ว และหัวใจโต
นิ้วปุ้มไม่มาก
พัฒนาการทางด้านที่ต้องใช้กล้ามเนื้อจะช้ากว่าปกติ
การรักษา
รักษาภาวะหัวใจวาย
การผ่าตัด
การผ่าตัดช่วยเหลือชั่วคราว เช่น การรัดเส้นเลือดที่ไปปอดให้เล็กลง (PA banding) - การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติทั้ง
เกิดจากมีเลือดดำและเลือดแดงปนกันในบางแห่งของห้องหัวใจก่อนที่ไปเลี้ยงร่างกาย โดยไม่มีการตีบแคบของเส้นเลือดที่ไปฟอกที่ปอด ดังนั้นผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีเลือดไปปอดมากกว่าปกติ
ภาวะเเทรกซ้อน
ฝีในสมอง
ติดเชื้อในหัวใจ
ความดันเลือดในปอดสูงถาวร
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจชนิดเขียวที่มีภาวะหมดสติจากสมองขาดออกซิเจน
จัดท่านอนเข่าชิดอกทันที หรืออาจเป็นนอนหงายหรือนอนตะแคงก็ได้
ดูแลปลอบโยนให้เด็กสงบโดยเร็ว พร้อมกับการจัดท่าเข่าชิดอก
ดูแลให้ออกซิเจน
ดูแลให้ยาสงบประสาท เช่น chloral hydrate หรือมอร์ฟีน เพื่อให้เด็กสงบ
ประเมินสัญญาณชีพเป็ นระยะๆ
สังเกตอาการ อาการแสดงเริ่มต้นของการเกิดภาวะหมดสติจากสมองขาดออกซิเจน
ดูแลและปลอบโยนบิดามารดา
กลุ่มเลือดไปปอดน้อย (Tetralogy of fallot)
เป็นความผิดปกติที่มีลิ้นหัวใจ และ/หรือเส้นเลือดที่นำเลือดดำไปฟอกที่ปอดตีบ หรือตันร่วมด้วย ทำให้มีเลือดดำไปฟอกที่ปอดได้น้อย จึงมีเลือดดำไปปนกับเส้นเลือดแดงที่ไปเลี้ยงร่างกาย
อาการและอาการแสดง
เขียวตามริมฝี ปาก เล็บ
นิ้วปุ้ม
เหนื่อยง่าย
การเจริญเติบโตช้า
hypoxic spells
การรักษา
แบบประคับประคอง
การให้ธาตุเหล็ก
ยาคลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหัวใจ
การดูแลช่องปากและฟัน
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่หักโหม
การผ่าตัด
การผ่าตัดช่วยเหลือชั่วคราว เป็นการต่อเส้นเลือดไปปอด เพื่อให้มีเลือดไปฟอกที่ปอดมากขึ้น
การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติ
ภาวะที่มีความผิดปกติของหัวใจ และหลอดเลือดที่เกิดขึ้นตั้งแต่อยู่ในครรภ์มารดา โดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ โดยที่ความผิดปกตินั้นๆ ทำให้มีเลือดดำปนอยู่ในเลือดแดงที่ไปเลี้ยงร่างกาย
โรคหัวใจพิการแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
(Acyanotic Heart Disease)
Left to Right Shunt Lesions)
รูรั่วกั้นผนังกั้นหัวใจห้องบน (Atrial Septal Defect)
อาการและอาการแสดง
อายุน้อยกว่า 2 ปี มักไม่มีอาการแสดงชัดเจน
ในเด็กโต จะผอม เหนื่อยง่าย เจ็บหน้าอก
ผู้ใหญ่ เหนื่อง่าย เเน่นหน้าอก หายใจไม่สุด หัวใจเต้นเเรง
การวินิจฉัยโรค
ตรวจร่างกาย
wide fixed split S2
systolic ejection murmur
mid diastolic rumbling murmur
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CXR รูขนาดปานกลาง หัวใจโต
EKG อาจพบ prolonged PR interval, RAโต
Echo RA และ RV โตขึ้น
ASD มีการไหลของเลือดส่วนหนึ่งจาก LA ไปยัง RA
ทำให้เกิดภาวะ volume overload ของช่องหัวใจด้านขวา
RA, RV, PA และ PV โตขึ้น
การรักษา
ขนาดเล็ก ไม่ต้องการ Rx แนะนำการป้องกันติดเชื้อ
รักษาด้วยยา เพื่อควบคุม HF
ขนาดกลางเเล็กขนาดใหญ่ การสวนหัวใจ การผ่าตัด
Patent Ductus Arteriosus
อาการและอาการแสดง
ขนาดเล็กไม่มีอาการ
ขนาดใหญ่ หัวใจวาย ดูดนมแล้วเหนื่อย ดูดนาน มเีหงื่อ ออกมาก ปอดอักเสบ ติดเชื้อบ่อย เลี้ยงไม่โต
กาารักษา
การใช้ยา Indomethacin
ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การปิด PDA ใช้การสวนหัวใจ เเละการผ่าตัด
ในคนที่ ductus arteriosus ไม่ปิดเองตามธรรมชาติ
ทำให้เกิด PDA
มีการไหลของเลือดจาก aorta ไปยัง PA
ทำให้มีเลือดไปที่ปอดมากขึ้น
ทำให้ PA, PV, LA, LV และ aortic knob โตขึ้น
การตรวจร่างกาย
โบ่งนูนของหน้าอก/active precordium,bounding pulse+ wide pulse pressure
คลำได้apical/ LV heave
อาจคลำได้ thrill ที Left upper sternal border
ฟังเสียง S2P ดังขึ้น contineous murmur ที่ LUSB grade II-IV/VI
รูรั่วกั้นผนังกั้นหัวใจห้องล่าง (Ventricular Septal Defect)
อาการและอาการแสดง
ในกรณีที่รูรั่วมีขนาดเล็ก ไม่มีอาการ murmur โดยบังเอิญ
ในกรณีที่มีรูรั่วขนาดใหญ่ จะมีภาวะหัวใจวาย เหนื่อยง่าย หายใจเร็ว ดูดนมได้ช้า เลี้ยงไม่โต และมีอาการของปอดอักเสบซ้ำๆ
มีภาวะแทรกซ้อน เช่น PAH, AR, subaortic stenosis, PS, IE
VSD ทำให้เกิดเลือดแดงไหลลัดจากหัวใจ LV ไหลไปยัง RV
ทำให้เลือดไปที่ปอดมากขึ้น
PVR ในปอดยังสูง
เมื่อแรงต้านทานหลอดเลือดแดงในปอดค่อยๆลดลง
ปริมาณเลือดที่ไหลลัดไปปอดจะมากขึ้นจนเกิด volume overload
1 more item...
การรักษา
ขนาดเล็กไม่มีภาวะแทรกซ้อน ไม่ต้อง Rx แนะนำการป้องกันการติดเชื้อ
การรักษาด้วยยา ควบคุม HF
ขนาดกลางเเล็กขนาดใหญ่ การสวนหัวใจ การผ่าตัด
การวินิจฉัยโรค
Pansystolic murmur ที่ left lower to mid parasternal border
ความผิดปกติในโครงสร้างของระบบหลอดเลือด และ/หรือหัวใจที่เป็นมาแต่กำเนิด ดยทั่วไปตั้งแต่ระยะที่อยู่ในครรภ์มารดา ตั้งแต่อายุ 18 วัน จนถึง 2 เดือน ที่มีการสร้างหัวใจและหลอดเลือด
Obstructive lesions
ภาวะที่มีการตีบตันของ aorta (Coarctation of Aorta)
อาการเเละอาการเเสดง
เจ็บแน่นหน้าอกหรือเหนื่อยง่าย จุกแน่น เสียดหรือแสบร้อนในบริเวณทรวงอก เหงื่อออก ใจสั่น เป็นลม
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบชีพจรส่วนขาเบากว่าแขน
การตรวจภาพถ่ายรังสีทรวงอกเเละหัวใจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ และคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง
การสวนหัวใจและฉีดสารทึบรังสี
หลอดเลือดแดงใหญ่ของร่างกายส่วนไปเลี้ยงลำตัวส่วนล่างตีบ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวขึ้น
ฺBP สูงขึ้น เลือดไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างของลำตัวลดลง
หลอดเลือด PDA มีขนาดเล็กลง หรือปิด
ทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนล่างของลำตัวไม่เพียงพอ
1 more item...
หลอดเลือด PDA คงอยู่
จะทำให้เลือดไปเลี้ยงส่วนล่างของลำตัวเพียงพอ
การรักษา
รายที่ีHT ให้ยาควบคุมความดัน
รายที่มี HF ให้ยาเพื่อควบคุมอาการ
ในทารกให้ ยา prostaglandin E1 เพื่อชะลอการปิดของ PDA
การสวนหัวใจ
การผ่าตัด
ลิ้นหัวใจเส้นเลือดไปร่างกายตีบ(Aortic Stenosis)
อาการเเละอาการเเสดง
เจ็บหน้าอก
เป็นลม
เหนื่อยง่าย
การวินิจฉัย
การตรวจด้วยวิธีฟังหัวใจ
คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (ECHO)
การรักษา
Balloon angioplasty
Aortic valvuloplasty
Aortiv valvotomy
ลิ้นหัวใจเส้นเลือดไปร่างกายตีบ ได้เเก่ ตีบบริเวณลิ้นเอออร์ติค ใต้ตีบบริเวณลิ้นเอออร์ติค เหนือตีบบริเวณลิ้นเอออร์ติค
เกิดการอุดตันของทางออก LV
LV หนาตัวขึ้น
เกิดภาวะหัวใจซีกซ้ายวาย
การคั่งของน้ำที่ปอด
1 more item...
ลิ้นหัวใจหลอดเลือดเเดงปอดตีบ (Pulmonary Stenosis)
อาการเเละอาการเเสดง
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยมักไม่มีอาการ
บางรายอาจมีอาการ หน้ามือ เป็นลม เจ็บหน้าอก
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ภาพถ่ายรังสีทรวงอกและหัวใจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
คลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง
ลิ้นหัวใจเชื่อมติดกัน หรือไม่แยกจากกันโดยเด็ดขาด
ถ้ามีการตีบแคบมาก
ทำให้หัใจ RV ต้องเพิ่มความดันให้สูงขึ้น เพื่อสามารถบีบตัวให้เลือดไปปอดให้เพียงพอ
กล้ามเนื้อหัวใจ RV จะหนาตัวมาก ทำให้เลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ RV ทำงานลดลง
หัวใจวาย
การรักษา
ตีบแคบเล็กน้อย ไม่ต้องรักษา ไม่จำกัดกิจกรรม F/U เป็นระยะๆ
ตีบแคบปานกลาง สวนหัวใจถ่างขยายลิ้นหัวใจ เเละการผ่าตัด
ตีบเเคบมาก ให้ยา PGE1 ร่วมกับการถ่างขยายลิ้นหัวใจ
การผ่าตัดแก้ไขหัวใจพิการแต่กำเนิด
เทคนิคการผ่าตัด
1.การผ่าตัดหัวใจแบบปิด
การผ่าตัดหัวใจแบบเปิด
การให้การพยาบาล
การพยาบาลขณะผ่าตัด
จัดท่านอนหงายให้เหมาะสมกับการผ่าตัด
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างรวมถึงจัดสภาพแวดล้อมต่างๆให้เหมาะสม
ใช้เทคนิคปลอดเชื้ออย่างเคร่งครัด
ตรวจนับวัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆทั้งก่อน ขณะ และหลังการผ่าตัดอย่างเคร่งครัด
บริหารจัดการให้เด็กได้รับการผ่าตัดอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
ให้ร่างกายเด็กได้รับความอบอุ่นตามความเหมาะสมในการผ่าตัด
เมื่อเสร็จการผ่าตัด
ทำความสะอาดแผล
ต่อท่อสายระบายลงขวด
ตรวจดูความเรียบร้อยของการปิดแผลผ่าตัด
ส่งผู้ป่วยไปหอผู้ป่วยหนัก พร้อมทั้งเตรียมพร้อมเอกสารต่าง ที่สำคัญของผู้ป่วย ยา และเลือดให้พร้อมใช้ตลอดเวลาตามความ
การพยาบาลในหอผู้ป่วยหนัก
เตียงสำหรับผู้ป่วยหลังผ่าตัดหัวใจ
เตรียมเครื่องมือต่างๆ เช่น เครื่องติดตามสัญญาณชีพ เครื่องวัดความดันโลหิต
ประเมินV/S
ประเมินภาวะเลือดออกหลังผ่าตัด
ดูแลให้ยา และสารน้ำตามเเผนการรักษา
ดูแลให้เด็กได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ดูแลท่อระบายทรวงอกให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้เด็กได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ส่งตรวจเลือดตามแผนการรักษา
ดูแลให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ดูแลด้านจิตใจของผู้ปกครอง
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
เตรียมเด็กและบิดามารดาให้รู้จักสภาพแวดล้อมในหอผู้ป่วย
เปิดโอกาสให้ซักถาม อธิบายให้เกิดความเข้าใจ ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง
เตรียมเอกสารต่างๆที่สำคัญ เช่น เอกสารใบยินยอมการรักษาและการผ่าตัด เป็นต้น
เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย เช่น สอบประวัติความเจ็บป่วย ตรวจร่างกาย เด็กควรได้รับการฝึกไอและหายใจหลังการผ่าตัดด้วย เป็นต้น
อธิบายความสำคัญของการงดน้ำงดอาหาร
เตรียมพร้อมด้านเลือดและส่วนประกอบของเลือดต่างๆ
ให้ยาตามแผนการรักษา
ทำความสะอาดร่างกาย สวนอุจจาระ
ส่งผู้ป่วยไปห้องผ่าตัดพร้อมเวชระเบียน และ ยาต่าง ที่ต้องให้ก่อน ขณะ และหลังการผ่าตัด
การวางเเผนดูเเลต่อเนื่อง
การรับประทานยา
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับยาให้ครบถ้วน
กรณีที่ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือดควร สังเกตและ ประเมินอาการเลือดออกไม่หยุดถ้ามีอาการควรมาพบแพทย์
การดูแลแผลผ่าตัดบริเวณกระดูกหน้าอก
4-2 สัปดาห์เเรก ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องออกแรงยก
ควรทำความสะอาดทุกวันด้วยแอลกอฮอล์หรือน้ำอุ่นและสบู่อ่อนซับให้แห้ง
สังเกตความผิดปกติของแผล
การทำกิจกรรม
2 สัปดาห์แรก ควรทำกิจกรรมต่าง เท่ากับขณะอยู่รพ.
หลังจากนั้นเพิ่มกิจกรรม ตามความเหมาะสม
ควรหยุดกิจกรรมทันทีที่เริ่มรู้สึกหายใจลำบาก ใจสั่น
ถ้าอาการไม่ดี ขึ้นรีบนำส่งโรงพยาบาลทันที
การรับประทานอาหาร
ควรเป็นอาหารอ่อน ย่อยง่าย มีคุณค่าทางอาหารสูงและครบถ้วน
งดอาหารรสจัด ของ หมักดอง ของเค็ม
ควรชั่งน ้าหนักตัวทุกวันในเวลาเดียวกัน ถ้าเพิ่ม> 1 กก./วัน
ควรไปพบแพทย์
ประเภทการผ่าตัด
การผ่าตัดช่วงประทังอาการ อาจเป็นการเพิ่มการไหลเวียนเลือดไปปอด เพื่อให้เด็กสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้รอให้พร้อมพอที่จะผ่าตัดแก้ไขให้หายขาด
การผ่าตัดให้หายขาด เป็นการผ่าตัด แก้ไขความพิการ
นางสาวณัฏฐ์พัชร์ หนูจัน เลขที่ 23