Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS -…
ภาวะอวัยวะล้มเหลวหลายระบบ
Multiple Organs Dysfunction Syndrome: MODS
(Man-made disaster) เกิดจากมนุษย์
ภัยจากการพัฒนาประเทศ
การคมนาคม
การอุตสาหกรรม
ไฟไหม้อาคารสูง
สิ่งก่อสร้างถล่ม
ภัยความขัดแย้งและปัญหาในสังคม
(Natural disaster)สาธรณภัยเกิดตามธรรมชาติ
ภาวะภูมิอากาศและฤดูกาล
ภัยแล้ง ( Drouht ) น้ำท่วม (Flooded)
ตามสภาพภูมิประเทศ : อุทกภัย หิมะถล่ม
ภัยที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงของผิวโลก : แผ่นดินไหว ดินถล่ม
ภัยทางชีวภาพ : การระบาดของโรค
Mass casualty” หมายถึง อุบัติเหตุกลุ่มชน หรือบางคนก็เรียกว่า Mass Emergency ซึ่งเป็นการได้รับอุบัติเหตุหรือบาดเจ็บในคนหมู่มาก ได้แก่ พวกระเบิดพลีชีพ ตึกถล่มหรือแม้กระทั่งอุบัติเหตุจราจร
อุบัติเหตุกลุ่มชน แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 (Multiple-Patient Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บมากกว่า 10 คน และอาการไม่สาหัสมาก
ระดับที่ 2 (Multiple-Casualt Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บไม่เกิน 100 คน มีอาการสาหัสหลายราย ต้องขอความร่วมมือจากเจ้าหน้าที่
ระดับที่ 3 (Mass Casualt Incident)
มีผู้ได้รับบาดเจ็บจำนวนมาก (ตั้งแต่ 100 คน ขึ้นไป) เหตุการณ์รุนแรง ต้องขอความช่วยเหลือจากแพทย์ที่เกี่ยวข้อง
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ( Emergency
Medical System : EMS )
โดยเน้นหนักด้าน
ความรวดเร็ว วิธีการรักษาที่ถูกต้อง สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ
การพยาบาลสาธารณภัย
มุ่งลดความเสียหายต่อชีวิตและ
สุขภาพของมนุษย์ที่เกิดจากสาธารณภัย
หลักสำคัญของการเข้าช่วยเหลือ
Safety:ประเมินความปลอดภัย
Scene:ประเมินกลไกการเกิดภัย
Situation:ประเมินสถานการณ์
ลักษณะการทำงาน
Detection
Reporting
Response
On scene care
Care in transit
การดูแลผู้ประสบภัยพิบัติหรืออุบัติภัยหมู่
D– Detection เป็นการประเมินสถานการณ์
I - Incident command เป็นระบบผู้บัญชาการเหตุการณ์
S – Safety and Security ประเมินความปลอดภัยของผู้
ปฎิบัติงานในจุดเกิดเหตุ
A – Assess Hazards ประเมินสถานที่เกิดเหตุเพื่อระวังอันตรายที่ตกค้าง
S – Support เตรียมอุปกรณ์และทรัพยากรที่จ าเป็นต้องใช้ในที่เกิดเหตุ
T – Triage/Treatment การคัดกรองและให้การรักษาที่รีบด่วนตามความจำเป็นของผู้ป่วย
E – Evacuation การอพยพผู้บาดเจ็บระหว่างเหตุการณ์
R – Recovery การฟื้นฟูสภาพหลังเกิดเหตุการณ์
บทบาทของพยาบาลในการจัดการสาธารณภัย
การเตรียมความพร้อม
การปกป้อง
ประเมินสถานการณ์ภัย
การเตรียมพร้อมรับสาธารณภัย
การจัดการในภาวะเกิดสาธารณภัย
การสื่อสาร การสั่งการ การคัดแยกผู้ป่วย การรักษา การขขนส่ง
การฟื้ืนฟู
ผลกระทบของสาธารณภัย
ทางสาธารณสุข เศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง สาธารณูปโภค สิ่งแวดล้อม
Triage ( การคัดแยกผู้ป่วย )
Emergent
แทนด้วยสัญลักษณ์สีแดง ช่วยเหลือภายใน 1 นาที
และไม่เกิน 4 นาที เช่น ผู้ป่วยหยุดหายใจ
Urgent
แทนด้วยสัญลักษณ์สีเหลือง สามารถรอได้โดยไม่เกิดภาวะคุกคามต่อชีวิต เช่น มีรอยแผล กระดูกหัก
Non urgent
ผู้ป่ วยไม่ฉุกเฉินแทนด้วย สัญลักษณ์สีเขียว ผู้ป่วยแผลถลอก ปวดท้องเรื้อรัง
ผู้ป่ วยเสียชีวิตหรือหมดหวังในการรักษา จะแทนด้วย สัญลักษณ์สีดำ
Trauma Assessment
Primary assessment
A : Airway maintenance with cervical spine protection
จัดท่า Head tilt , chin lift หรือ
Jaw thrust ถ้ามี Fx
B : Breathing and ventilation
จัดท่านอนราบ เอียงหน้าใกล้จมูกผู้ป่วยและตามองทรวงอกถ้าหายใจขัด ช่วยหายใจ โดย Ambu bag หรือ Intubation
C : Circulation with hemorrhage control
คล าชีพจรที่ Radial, Brachial, Carotid artery ถ้าไม่มีชีพจร
ทำ CPR
D : Disability : Neurologic status
E : Exposure / Environment control
การรักษาขั้นต้นในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุ
Prehospital phase
เป็นการดูแลผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ
airway maintenance
control of external bleeding and shock
immobilization
immediate transport ไปยัง โรงพยาบาล
Secondary assessment
F ได้แก่ Fahrenheit ( Keep Patient warm)
G ได้แก่ Get a complete set of V/S
H ได้แก่ History & head- to-toe assessment
A = Allergies
M = Medications currently used
P = Past illnesses/Pregnancy
L = Last meal
E = Events/Environment related to the injury
I ได้แก่ Inspect posterior surfaces
การสัมภาษณ์เพื่อการคัดกรอง หลักการจำ OLD CART
O = on set of symptoms
L = Location of problem
D = Duration of symptoms
C =Characteristics of the patient
A = Aggravating factors
R = Relieving factors
T = Treatment administered before arrival
การสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเจ็บปวด
หลักการจำ PQRSTT
P = Provoking factor
Q = Quality of pain
R = Region/Radiation of pain
S = Severity of pain
T =Time pain began
T = Treatment
เครื่องชี้วัดในการบ่งบงอกระดับความรุนแรงเพื่อการคัดแยกผู้ป่วย คือ trauma score ซึ่งประกอบด้วย
glasgow coma score
blood pressure
pulse rate
capillary filling
respiration
การเตรียมรับผู้ป่วย Inhospital phase
เป็นการเตรียมให้การดูแลรักษาผู้ป่วยที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลทั้งที่ได้และไม่ได้รับการแจ้งล่วงหน้า มีการเตรียมความพร้อมทั้งอุปกรณ์ สถานที่ และบุคคลกร
Inhospital phase
airway equipment
intravenous crystalloid solution
monitoring capability
laboratory and radiology
communication with trauma center
-universal precaution