Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ…
หน่วยที่ 6 แนวทางการวัดและประเมินสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษา
1ความหมายของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กที่มีความต้องการพิเศษหรือเด็กพิเศษ หมายถึง เด็กที่มีปัญหาความต้องการจำเป็นพิเศษ ซึ่งมากกว่าเด็กปกติทั่วไปแบ่งได้ออกเป็น 3 กลุ่มคือ
2กลุ่มเด็กที่มีความสามารถพิเศษ หรือเด็กปัญญาเลิศ-เด็กอัจริยะ
3กลุ่มเด็กด้อยโอกาส
1กลุ่มเด็กที่มีความบกพร่องทางการศึกษาทั้ง 9 ประเภทได้
การพูดและภาษา
พฤติกรรมหรืออารมณ์
ร่างกายหรือสุขภาพ
การเรียนรู้
สติปัญญา
เด็กออทิสติก
การได้ยิน
เด็กพิการซ้ำซ้อน
การมองเห็น
2ความสำคัญของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
ในการจัดการศึกษาที่คำนึงถึงสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะกลุ่มเด็กพิการ ที่ควรได้รับโอกาสทางการศึกษาและการอยู่ร่วมกันในสังคมเหมือนเด็กปกตินั้น จึงได้มีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่2พ.ศ.2545 ดังนี้
1พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พ.ศ.2551
2ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2551 สำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ
3แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษทางการศึกษา ฉบับทดลองพ.ศ.2558
ในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นื้นฐานพ.ศ.2551 ที่กำหนดให้ผู้สอนต้องประเมินผู้เรียน 4 องค์ประกอบได้แก่
3การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
4การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1การประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้
ซึ่งการวัดและประเมินผลดังกล่าวเหมาะกับเด็กปกติทั่วไปแต่ไม่เหมาะกัยเด็กที่มีความต้องการพิเศษ จึงไม่สอดคล้องกับพัฒนาการและศักญภาพของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
4หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
1สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน
2มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินระดับความสามารถและความต้องการจำเป็นพิเศษ ปรับปรุงพัฒนานักเรียน และตัดสินผลการเรียน
3ควรอยู่บนพื้นฐานที่สอดคล้องกับการตอบสนองความต้องการจำเป็นพิเศษทางการศึกษาของนักเรียน โดยใช้(IEP)เชื่อมโยงกับมาตรฐานตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ.2551 รวมทั้งประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ เขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
4การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยการส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมหรือรูปแบบวิธีการวัดและประเมินผล
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการตอบสนอง
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการจัดสภาพแวดล้อม
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการจัดเวลาเป็นตาราง
การช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกด้านการนำเสนอ
5การประเมินนักเรียนพิจารณาจากพัฒนาการของนักเรียน
6เปิดโอกาสให้นักเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้
7ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและรูปแบบการศึกษาต่างๆ
8ให้สถานศึกษาจัดทำเอกสารหลักฐานการศึกษา
3จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
จุดมุ่งหมายมีดังนี้
2เพื่อประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน
3เพื่อตัดสินผลการเรียน
1เพื่อประเมินความรู้ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเศษเพื่อวางแผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP)
คือ การตรวจสอบหรือประเมินความรู้ของนักเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ในแต่ละกลุ่มสาระ ทักษะการเรียนรู้ แล้วนำไปวางแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล
การประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีความต้องการพิเศษมี 2 ลักษณะคือ
1การประเมินพัฒนาการและผลการเรียนรู้ของนักเรียน เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา
2การประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน เป็นการประเมินหลังการจัดการเรียนรู้จบหน่วยการเรียนรู้
5แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ
2การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ต้องปรับวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับสภาพความพิการของแต่ละคนและสอดคล้องกับแผน(IEP)
3การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ควรปรับวิธีการประเมินให้เหมาะสมกับสภาพความพิการของแต่ละคน แล้วรวบรวมผลการประเมินจากทุกฝ่ายมาเป็นเกณฑ์ในการจบการศึกษาระดับต่างๆ
1การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ คือการใช้วิธีที่หลากหลาย และวัดประเมินการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
4การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน การปรับการประเมินผลที่เอื้อต่อสถาพนักเรียน เช่น การประเมินด้วยแฟ้มสะสมผลงาน การแสดงออกในการปฏิบัติงาน เป็นต้น
6เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียน
1การตัดสินผลการเรียน
ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด
ได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชาตามแผน(IEP)
เวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
2การให้ระดับผลการเรียน
สามารถให้ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพโดยพิจารณาจาก(IEP)
การประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์เขียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ให้ผลประเมินเป็นผ่านและไม่ผ่าน
3การเลื่อนชั้น
ได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดตาม(IEP)
มีผลการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์เขียนคุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามที่สถานศึกษากำหนด
เวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
7รายงานผลการเรียน
ข้อมูลระดับสถานศึกษา
ข้อมูลระดับเขตพื้นที่การศึกษาและระดับชาติประกอบด้วย
ข้อมูลระดับชั้น
ข้อมูลพัฒนาการของนักเรียนด้านอื่นๆ
6เกณฑ์การจบการศึกษา
บรรลุคุณภาพตามจุดประสงค์เชิงพฤติกรรมที่กำหนดไว้ใน(IEP)
ผ่านการประเมินตามจุดประสงค์ที่กำหนดไว้ใน(IEP)
5การสอนซ่อมเสริม
ในกรณีที่ได้ซ้ำชั้น ให้สถานศึกษาจัดการสอนซ่อมเสริมเป็นกรณีพิเศษ
4การเรียนซ้ำชั้น
เวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ 80
ไม่ผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากำหนด
7แนวปฏิบัติในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษแต่ละประเภท
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
การกำหนดเกณฑ์และแนวทางการวัดและประเมินผลตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและประเมินผล
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
การประเมิน ทบทวนและปรับปรุงแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)
การประเมินระดับความรู้ ความสามารถพื้นฐานและความต้องการจำเป็นพิเเศษ
การรายงานผลการจัดการศึกษาตามแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล(IEP)