Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การผูกยึดและการจํากัดพฤติกรรม (Setting limit) - Coggle Diagram
การผูกยึดและการจํากัดพฤติกรรม (Setting limit)
วัตถุประสงค์การผูกยึดและการจํากัดพฤติกรรม
จํากัดพฤติกรรมการทําร้ายตนเองและผู้อื่น
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
จํากัดพฤติกรรมของผู้ป่วยให้อยู่ในขอบเขตที่สามารถควบคุมได้
เพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนนอนหลับ
เพื่อลดการกระตุ้นจากสิ่งเร้าที่ทําให้ผู้ป่วยมีอาการทางจิต
ข้อบ่งชี้ในการจํากัดสิทธิและพฤติกรรม
ไม่ให้ความร่วมมือในขณะให้การรักษาเป็นอย่างมาก
หลังได้รับยา Antipsychotic Drugs แล้วอาการยังไม่สงบ
ผู้ป่วยที่วุ่นวายมาก เพ้อ มึนงง หรือสับสน ไม่สามารถควบคุมได้ (Agitated behavior or confusion)
มีความคิดหนีออกจากโรงพยาบาล
ผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมรุนแรง เช่น อาละวาด ก้าวร้าว คลุ้มคลั่ง
ผู้ป่วยที่อาจเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากยาที่ได้รับทําให้ผู้ป่วยเสียการทรงตัว หรืออาการสับสนจากการได้รับการรักษาโดยการใช้ไฟฟ้า
ผู้ป่วยที่ทําร้ายตนเอง หรือผู้อื่น พยามทําร้ายตนเองและผู้อื่นตลอด
เวลา
วิธีของการจํากัดสิทธิและพฤติกรรม มี 3 วิธี
การจํากัดขอบเขต สามารถทำได้2 วิธี
การผูกยึดผู้ป่วย
การผูกยึดผู้ป่วยต้องใช้กรณีมีความจําเป็นและผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ของการผูกยึดอย่างชัดเจน กระทําโดยต้อง คํานึงถึงสิทธิและความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก ซึ่งการเคารพสิทธิของผู้ป่วย
แนวทางในการดำเนินการผูกยึด มีดังนี้
ประเมินหลังจากได้ให้การแก้ไขเบื้องต้น ซึ่งหากแก้ไขเบื้องต้นแล้วไม่สามารถควบคุม พฤติกรรม จึงจะตัดสินใจใช้วิธีการผูกยึด
พิจารณาเลือกวิธีการที่เหมาะสมในการผูกยึด ควรใช้การผูกยึดร่างกายผู้ป่วยให้น้อยที่สุด
แก้ไขเบื้องต้นก่อนการตัดสินใจผูกยึด เช่น การพยายามพูดคุย
ปฏิบัติการผูกยึดอย่างรวดเร็วถูกต้องตรงตามหลักการ
ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงที่ทําให้เกิดอันตรายต่อตนเองและผู้อื่น
ลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดผลข้างเคียงจากการผูกยึด เช่น การบาดเจ็บของเส้นประสาท การบาดเจ็บ จากการขาดเลือด
การนําเข้าห้องแยก
ข้อห้ามในการใช้ห้องแยก
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มในการฆ่าตัวตาย
ผู้ป่วยได้รับยาทางจิต เสี่ยงต่อการเกิดอาการข้างเคียงที่รุนแรง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการผูกยึดหรือนําเข้าห้องแยก มี 3 ระยะ ดังนี้
การพยาบาลขณะผูกยึดหรือนําเข้าห้องแยก
การพยาบาลภายหลังการผูกยึดหรือนําเข้าห้องแยก
การพยาบาลก่อนการผูกยึดหรือนําเข้าห้องแยก
การจํากัดด้วยวาจา
ด้านกิริยาท่าทาง
ต้องสงบ น้ําเสียงดัง ฟังชัด แต่ไม่กระโชก
น้ําเสียงดัง ฟังชัด แต่ไม่กระโชกโฮกฮาก
สายตา อยู่ที่ผู้ป่วยตลอดเวลา
แสดงท่าทางรับฟังอย่างสนใจ และห่วงใยผู้ป่วย
มือควรอยู่ด้านหน้า หรือข้าง ลําตัว ไม่ไพล่หลัง
ด้านคำพูด
แจ้งข้อมูลพฤติกรรมที่ผู้ป่วยกระทําให้ผู้ป่วยทราบ
บอกเงื่อนไข หรือทางเลือกที่ผู้ป่วยสามารถปฏิบัติได้
การชักชวนผู้ป่วยพูดคุยด้วยเรื่องทั่วๆไป
การใช้ยา (medication หรือ Chemical Restraint)
อาจใช้ควบคู่กับการจํากัดพฤติกรรมด้วยวิธีอื่นๆ เช่น การผูกยึด การใช้ยา เพื่อการควบคุมอาการผู้ป่วยมักนิยมใช้ บ่อยในกรณีผู้ป่วยมีอาการทางจิตรุนแรง ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนเองได้ การใช้ยาสงบระงับ ( Chemical Restraint )
ควรมีการประเมินก่อนให้ยา ดังนี้
ซักประวัติการใช้สารเสพย์ติด
ประเมินพยาธิสภาพทางสมอง
Vital signs
ดูการทํางานของม่านตา
ประเมินการรับรู้
ซักประวัติอาการทางกายประวัติแพ้ยา