Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และการใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น
ความหมาย
การใช้ยาโดยมีข้อบ่งชี้เป็นยาที่มีคุณภาพมีประสิทธิผลจริงสนับสนุนด้วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ให้ประโยชน์ทางคลินิกเหนือกว่าความเสี่ยงจากการใช้ยาอย่างชัดเจนมีราคาเหมาะสมคุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขไม่เป็นการใช้ยาซ้ำซ้อนคำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นการใช้ยาในกรอบบัญชียา
คำจำกัดความ
1.การใช้ยาโดยมีข้อบ่งชี้
2.เป็นยาที่มีคุณภาพ
3.มีประสิทธิผลจริง
4.หลักฐานเชื่อถือได้
5.ประโยชน์ทางคลินิก
6.ความเสี่ยงจากการใช้ยา
7.ราคาเหมาะสม
8.คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
9.การใช้ยาซ้ำซ้อน
10.คำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยา
11.บัญชียายังผล
12.การใช้ยาอย่างเป็นขั้นตอน
13.แนวคิดทางพิจารณาการใช้ยา
14.เภสัชวิทยาคลินิก
15.ระบบประกันสุขภาพ
16.ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล
17.ความยั่งยืนในการเบิกจ่ายยา
18.การใช้ยาที่ไม่เลือกปฎิบัติ
19.การปฏิเสธยาที่ผู้ป่วยสมควรได้รับ
กรอบแนวคิด
ข้อบ่งชี้
ประสิทธิผล
ความเสี่ยง
ค่าใช้จ่าย
องค์ประกอบอื่น ๆ ที่จำเป็น 6. ขนาดยา
วิธีให้ยา
ความถี่ในการให้ยา
ระยะเวลาในการให้ยา
ความสะดวก
การใช้ยาต่างๆตามหลักการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
การใช้ยาในการรักษา Antibiotic Smart Use in Pharyngitis ตามหลักการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การใช้ยาในการรักษา Acute Diarrhea / Acute Gastro enteritis / Food Poisoning
2.NSIADs การอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์เป็นยากลุ่มที่ใช้เป็นยาแก้ปวดได้ดีโดยเฉพาะอาการปวดจากการอักเสบยาที่จัดเป็นแม่แบบคือแอสไพริน (Aspirin) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีและใช้กันมานานการใช้ NSAIDs มากกว่า 1 ชนิดร่วมกันเพิ่มผลข้างเคียงต่อ GI, CVS (Ml, HTCHF, Stroke) และ Renal
การใช้ยาบรรเทาอาการเจ็บคอผสมยาปฏิชีวนะ
1.พาราเซตามอล (Paracetamol)
ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เด็กคนละ 114-1 / 2 หลอดผู้ใหญ่ครั้งละ 1 / 2-1 หลอด
ปริมาณการใช้ยาพาราเซตามอลยารับประทานเด็ก 10-15 มิลลิกรัม / กิโลกรัดทุก 4-6 ชั่วโมง (หากจำเป็น) ไม่เกิน 5 ครั้งภายใน 24 ชั่วโมง ผู้ใหญ่ 500 มิลลิกรัมทุก 4-6 ชั่วโมงไม่เกิน 4,000 มิลลิกรัมต่อวัน
การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อของบาดแผลทั่วไป ((Antibiotic Prophylaxis in Simple Wound) บาดแผล (Wounds) หมายถึงการบาดเจ็บทุกชนิดที่ก่อให้เกิดการแตกสลายของผิวหนังหรือเยื่อบุส่วนอื่น ๆ ของร่างกายรวมทั้งการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นแก่เนื้อเยื่อที่อยู่ส่วนล่างลงไปจากผิวหนังหรือเยื่อบุเหล่านี้ผลของบาดแผลที่ควรสนใจเป็นพิเศษคือเลือดออกและติดเชื้อประเภทของแผลแผลสะอาด (clean wound) หมายถึงแผลที่ไม่มีการติดเชื้อขอบเรียบไม่มีเนื้อตายหรือแผลที่เคยมีสิ่งสกปรกติดอยู่ แต่สามารถล้างออกได้ง่ายเนื้อเยื่อของแผลเป็นสีชมพูอมแดง ไม่มีลักษณะของของการอักเสบบวมแดง(infected wound) หมายถึงแผลที่มีการอักเสบลุกลามเป็นบริเวณกว้างจากการติดเชื้อมีสิ่งแปลกปลอมหรือปนเปื้อนมากอาจมีสิ่งขับหลั่งเป็นหนองช้าเลือดช้าหนองหรือเนื้อเยื่อตาย
การสื่อสาร
เทคนิคการสื่อสารระหว่างบุคคล
-ถามควรใช้คำถามปลายเปิดมากกว่าปลายปิดคำถามปลายเปิดเช่น "เกิดอะไรขึ้น" "อย่างไร" "ทำไม"
-ฟังอย่างตั้งใจ
-การทบทวน
-การเงียบหยุดนิ่งทิ้งระยะใช้อวัจนภาษาเช่นสายตาสัมผัส
-สะท้อนความรู้สึก
-การสรุปความ
3.การสื่อสารในการจัดการด้านยา 5 ขั้นตอนการสื่อสารในการจัดการด้านยาแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอนดังนี้
1) Determine need สื่อสารเพื่อค้นหาความจาเป็นในการใช้ยาและเลือกยาที่เหมาะสมเช่นการสื่อสารระหว่างแพทย์และผู้ป่วยเพื่อสอบถามอาการ
2) Prescribe สื่อสารขณะแพทย์สั่งใช้ยาแก่ผู้ป่วยเช่นการสื่อสารระหว่างแพทย์และผู้ป่วยเพื่อให้รายละเอียดเกี่ยวกับยาใหม่ที่ผู้ป่วยได้รับ
3) Dispense สื่อสารในขั้นตอนการจ่ายยาระหว่างเภสัชกรและแพทย์เพื่อแก้ไขความคลาดเคลื่อนทางยา
4) Administer สื่อสารเกี่ยวกับการบริหารยาของผู้ป่วยระหว่างเภสัชกรกับพยาบาลเภสัชกรกับผู้ป่วยในการอธิบายวิธีการบริหารยาแก่ผู้ป่วย
5) Monitol evaluate สื่อสารในกระบวนการติดตามและประเมินผลการักษาเช่นการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับบุคคลากรทางการแพทย์ที่ออกเยี่ยมบ้าน
องค์ประกอบ
-ผู้ส่งสาร ถ้อยคำ ภาษาหรือการแสดงออก
-ผู้รับสารเมื่อได้ยินได้เห็นหรืออ่านข้อมูลใดๆที่ส่งมา
-สารเนื้อหาข้อมูลที่แสดงถึงความคิดเห็น
-ปฏิกิริยาย้อนกลับหรือการตอบสนอง
-สิ่งกีดขวางคือสิ่งที่รบกวนทั้งสภาพแวดล้อมลักษณะบุคคลและวัฒนธรรมเวลาการจัดการทรัพยากร
4.การรักษาแบบมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (Shared decision making SDM) เป็นทั้งแนวคิดและกระบวนการที่ต้องอาศัยการเป็นหุ้นส่วน (partnership) ระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้บริการทางการแพทย์ร่วมกันพิจารณาเลือกวิธีการตรวจวิธีการรักษาและข้อมูลประกอบเพิ่มเติมบนพื้นฐานของบริบทผู้ป่วยประสบการณ์ทางคลินิกของบุคลากรทางการแพทย์และหลักฐานทางวิชาการการเลือกใช้ยาตามมาตรฐานในการรักษาหรือตามหลักฐานทางการแพทย์จะไม่นำสู่การใช้ยาอย่างสมเหตุผลได้จริงหากผู้ป่วยไม่ยอมรับยานั้นหรือวิธีการใช้ยานั้นไม่เหมาะกับเงื่อนไขในชีวิตของผู้ป่วยซึ่งย่อมมีผลต่อความร่วมมือในการรักษาและประสิทธิผลของการรักษาที่ต่ำลงตามมาดังนั้นการรักษาแบบมีส่วนร่วมในการตัดสินใจจึงเป็นกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ได้ทำงานร่วมกันเพื่อทำความชัดเจนเกี่ยวกับวิธีการตรวจรักษาการดูแลตนเองเพื่อบรรลุเป้า