Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แบบสอบถามและแบบประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
แบบสอบถามและแบบประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
ปัญหาที่ 1 ภาวะผิวแห้งในผู้สูงอายุ
โดยพบทั้งในเพศชายและเพศหญิง ซึ่งแสดงว่าฮอร์โมนไม่ได้เป็นสาเหตุสำคัญที่
ทำให้เกิดผิวแห้ง แต่เกิดจากอายุที่มากขึ้น
ทำให้มีการสร้าไขมันที่ผิวหนังลดลงโดยเฉพาะในผู้หญิงวัยหมด
ประจำเดือนแล้ว นอกจากนี้การอาบน้ำบ่อยๆ อาบน้ำอุ่นและใช้สบู่ทั่วไปที่มีฤทธิ์เป็นค่าง
จะมีลักษณะเป็นสะเก็ดแห้งเป็นขุย หรือเป็นแผ่น มีร่องแตกคล้ายเกล็ดปลา ซึ่งสามารถพบได้ทั้งตัว
แต่จะชัดเจนบริเวณแขนขา
ทำให้สูญเสียไขมันที่เป็นเกราะป้องกันผิวชั้นนอก ก็เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดผิวแห้งในผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในฤดูหนาว
เนื่องจากมีความชื้นในอากาศต่ำทำให้ผิวสูญเสียน้ำได้มากขึ้น ผิวจึงแห้งและคันมากขึ้นได้
สาเหตุ
ทำให้ผิวหนังแห้งและหยาบขึ้นผู้ที่อายุมากกว่า 65 ปี ซึ่งอยู่ในพื้นที่ที่อากาศหนาวแห้งและอาบน้ำบ่อย มีโอกาสเกิดผิวแห้งได้ง่าย
เมื่ออายุมากขึ้นผิวหนังชั้นนอกจะมีน้ำในชั้นผิวหนังลดลง
ทำให้มีการสร้าไขมันที่ผิวหนังลดลง นอกจากนี้การอาบน้ำบ่อยๆหรืออาบน้ำอุ่นและใช้สบู่ทั่วไปที่มีฤทธิ์เป็นด่าง
ทำให้สูญเสียไขมันที่เป็นเกราะป้องกันผิวชั้นนอก
สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดผิวแห้งในผู้สูงอายุมีโอกาสเกิดผิวแห้งได้ง่าย
อาการผิวแห้งในผู้สูงอายุ
เกิดการอักเสบติดเชื้อตามมา ตำแหน่งที่ผิวหนังมักแห้งกว่าบริเวณอื่นคือบริเวณที่มีความเสี่ยงมากกว่า ได้แก่ แขน ขา มือและบริเวณใต้เข่าลงไป
เกิดอาการคันผิวหนังตามมา ในกรณีที่เป็นมากผิวอาจเป็นขุยลอก เป็นรอยแตกหรือแดง
อาจเกิดที่ต้นขาหรือสีข้างของลำตัวก็ได้ อาการคันเกิดจากผิวแห้งนี้ มักเป็นมากในฤดูหนาวที่อากาศค่อนข้างแห้ง
โดยคนทั่วไปมักจะอาบน้ำอุ่น ซึ่งสบู่อาบน้ำ ผงซักฟอกบาง
ชนิด และผลิตภัณฑ์ทาผิวที่มีแอลกอฮอล์ผสม อาจยิ่งทำให้ผิวแห้งและมีอาการมากขึ้น
การดูแลป้องกัน
ดื่มน้ำให้เพียงพอ เพื่อช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นแก่ผิว
ผู้สูงอายุที่ผิวแห้งมากไม่จำเป็นต้องใช่สบู่ หรืออาจใช้สบู่ที่มีฤทธิ์เป็นด่างเท่านั้นและไม่ควรขัดผิว
ในช่วงฤดูหนาวผู้สูงอายุ ควรอาบน้ำเพียงวันละครั้ง ด้วยน้ำอุ่นพอประมาณ ไม่ร้อนมากและไม่ควรอาบน้ำหรือแช่น้ำนานไป
หลีกเลี่ยงเสื้อผ้าที่อาจระคายผิว เช่น ผ้าฝ้าย ผ้าไหม
โดยทั่วไปอาการผิวแห้งไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่การดูแลบางอย่าง อาจช่วยป้องกันไม่ให้เป็นมากได้
ในกรณีที่ผู้สูงอายุมีผิวหนังอักเสบ บวมแดง และเจ็บ อาจต้องทาครีมหรือขี้ผึ้งสเตียรอยด์ เพื่อลดการอักเสบ
การส่งเสริม
กินผักและผลไม้ ช่วยให้การขับถ่ายดี เพราะผักและผลไม้มีวิตามินที่จำเป็นต่อผิว ช่วยบำรุงผิว มี สารต้านอนุมูลอิสระ ทำให้เซลล์ไม่เสื่อมถอยเร็ว ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัย
ดื่มน้ำ น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของร่างกาย การดื่มน้ำที่เพียงพอจะช่วยให้เซลล์ต่างๆ ชุ่มชื้น ไม่
ก่อให้เกิดแห้งกร้านรอยแตกและเป็นขุย
การฟื้นฟู
ควรมีคุณสมบัติช่วยให้ผิวหนังชุ่มชื้นลดอาการแห้ง คัน เพื่อให้ผิวกลับมาแข็งแรงได้ผิวเหี่ยวย่น มีริ้วรอยในผู้สูงอายุ ผิวหนังทุกชั้น
แนะนำให้ผู้สูงอายุหรือผู้ดูแลเลือกใช้ผลิตภัณฑ์บำรุงผิวที่เหมาะสมกับสภาพผิว
จะมีการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติในชั้นหนังกำพร้าความสามารถในการสร้างเซลล์ใหม่ทดแทนเซลล์เก่าจะลดลง
แนวทางการแก้ไขปัญหา
2.ทานอาหารเสริม และผักผลไม้ที่มีวิตามิน
3.ใช้ผลิตภัณฑ์ทาผิวที่เหมาะสมกับสภาพผิวหนัง
1.หลีกเลี่ยงการอาบน้ำที่ร้อนเกินไป
การส่งเสริม
กินผักและผลไม้ ช่วยให้การขับถ่ายดี ช่วยบำรุงผิว มีสารต้านอนุมูลอิสระ ทำให้เซลล์ไม่เสื่อมถอยเร็ว ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอย
ดื่มน้ำ น้ำเป็นส่วนประกอบหลักของร่างกาย การดื่มน้ำที่เพียงพอจะช่วยให้เซลล์ต่างๆ ชุ่มชื้น ไม่แห้งกร้านไม่ก่อให้เกิดริ้วรอย
ปัญหาที่ 3 เคี้ยวอาหารแข็งไม่ค่อยได้/ฟันโยกคลอน
การเคี้ยวอาหารในผู้สูงอายุ
กล้ามเนื้อหูรูคบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อนตัวและทำงานลดลง ทำให้อาหารและ น้ำย่อยไหลข้อนกลับจากกระเพาะเข้าสู่หลอดลมได้ จึงทำให้เกิดอาการแสบร้อนบริเวณหน้าอก และเกิดอาการสำลักได้
การกระหายน้ำลดลง ทำให้ลิ้นและปากแห้ง เกิดการติดเชื้อทาง
ปากได้
การเคลื่อนไหวของหลอดอาหารลดลง และหลอดอาหารกว้างขึ้น ทำให้ระยะเวลาที่อาหารผ่านหลอดอาหารช้าลง
เคลือบฟันจะมีลำคล้ำขึ้นและบางลง แตกง่าย เหงือกที่หุ้มคอฟันร่นลง ไป เซลล์สร้างฟันลดลง ฟันผุง่ายขึ้น ส่วนใหญ่ของผู้สูงอายุจึงไม่ค่อยมีฟัน ต้องใส่ฟันปลอมทำให้การเคี้ยว อาหารไม่สะดวก
การผลิตน้ำย่อยและเอนไซม์ในกระเพาะอาหารลดลงลำไส้เล็กและลำไส้ใหญ่เคลื่อนไหวน้อยลงเกิดอาการท้องผูกได้ง่าย
การไหลเวียนเลือดตลอดทางเดินอาหารลดลง เชื่อบุทางเดินอาหารเสื่อม ทำให้การดูดซึมอาหารลดลง เกิดกาวะขาดสารอาหารได้
ปัญหาการเคี้ยวในผู้สูงอายุ
สาเหตุ
ฟันสึก ถ้าสึกมากจนเสียรูปร่างเดิมของฟัน ด้านบดเคี้ยว แบนเรียบ ทำให้รู้สึกว่าเคี้ยวอาหารไม่ขาด เคี้ยวได้ไม่ละเอียด หรือมีอาหารติดบริเวณหลุมร่องที่สึกด้านบดเคี้ยว อาจมีอาการเสียวฟัน ถ้าฟันหลังสึกจนเตี้ยลงกว่าเดิมมาก
กรณีสูญเสียฟัน และจำเป็นต้องใส่ฟันเทียมชนิดถอดได้ ฟันเทียมต้องอยู่ในสภาพดีและแน่น การใส่ฟันเทียมที่ไม่พอดี เคี้ยวเจ็บ หรือหลวมส่งผลให้เคี้ยวอาหารได้ไม่ถนัด
ไม่มีฟัน หรือมีจำนวนฟันและคู่สบไม่เพียงพอเกิดจากการถูกถอนฟันจากโรคในช่องปากที่เป็นแล้วไม่ได้รักษา เช่น โรคฟันผุรากฟันผุโรคปริทันต์อักเสบรุนแรงหรือรำมะนาด
เจ็บข้อต่อขากรรไกร ส่วนใหญ่มักมีสาเหตุจากความเครียดของกล้ามเนื้อจากการทำงานที่มากเกินไป หรือใช้ผิดประเภท เช่น เคี้ยวข้างเดียว เคี้ยวของแข็งมีการสบฟันที่ผิดปกติ
การดูแลช่องปาก
การรับประทานอาหารที่ถูกสัดส่วน และจำกัดอาหารว่างระหว่างมื้อ
การใช้ยาสีฟันที่มีฟลูออไรด์
การแปรงฟันอย่างทั่วถึงวันละ 2 ครั้ง และใช้ไหมขัดฟันวันละครั้ง
การบ้วนปากด้วยน้ำยาบ้วนปากที่มีฟลูออไรด์ ในกรณีที่ทันตแพทย์แนะนำ
คำแนะนำในการใส่ฟันปลอม
ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารแข็ง และอาหารเหนียว
ไม่ควรใช้ฟันปลอมซี่หน้าในการกัดหรือบดอาหาร เพราะจะทำให้ฟันปลอมหลุดได้ง่าย ควรใช้ฟันแท้บริเวณมุมปากแทน
ห้ามใส่ฟันปลอมนอน เพื่อให้เหงือกได้พัก
และไม่ทำให้เกิดเหงือกอักเสบ
ควรแปรงฟันและทำความสะอาดฟันปลอมทุกครั้งหลังอาหาร
หากใส่ฟันปลอมแล้วมีปัญหา เช่น เจ็บ ควรกลับไปพบทันตแพทย์ท่านเดิมที่ทำฟันปลอม เพื่อตรวจและแก้ไข
การส่งเสริมทุพโภชนาการ
รับประทานพืชผักให้มากและรับประทานผลไม้เป็นประจำ
รับประทานปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และเมล็ดถั่วแห้งเป็นประจำ
รับประทานข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย
และหมั่นดูแลน้ำหนัก
รับประทานอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
อาหารที่ควรรับประทาน
อาหารที่เป็นแหล่งของฟอสฟอรัส ได้แก่ เนื้อปลา ไข่ ถั่ว
อาหารที่เป็นแหล่งของวิตามินดี ได้แก่ นม ปลาแซลมอน หอยนางรม
อาหารที่เป็นเป็นแหล่งของวิตามินซี ได้แก่ ผักใบเขียว และผลไม้ที่มีน้ำตาลน้อย ฝรั่ง ส้ม
อาหารที่เป็นแหล่งของแมกนีเซียม ได้แก่ ผักใบเขียว ธัญชาติ ถั่ว ผลไม้
อาหารที่เป็นแหล่งของแคลเซียมได้แก่นมและผลิตภัณฑ์จากนมไข่ถั่ว และผลิตภัณฑ์จากถั่ว
อาหารที่เป็นแหล่งของวิตามินเค ได้แก่ เช่น บรอกโคลีผักใบเขียว กะหล่ำปลี น้ำมันพืช
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง
2.น้ำหวาน น้ำอัดลม และน้ำผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว เป็นต้น ทำลายสารเคลือบฟัน และทำให้ฟันสึกกร่อนได้
อาหารที่มีรสหวาน ขนมหวาน ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ฟันผุ
การฟื้นฟูเคี้ยวไม่ค่อยได้ในผู้สูงอายุ
2.วัตถุดิบมาผ่านการต้ม ตุ๋น ลวก นึ่ง ก่อนปรุงอาหาร โดยเฉพาะผักและถั่วแห้งเพื่อให้นิ่มและเคี้ยวสะดวกยิ่งขึ้น
3.เน้นการใช้เครื่องเทศหรือสมุนไพร ปรุงเป็นเมนูโดยใช้ขิง ข่า กระชายในการปรุงอาหาร เช่น ไก่ผัดขิง ผัดฉ่า ซึ่งเครื่องเทศเหล่านี้จะกระตุ้นความอยากอาหารได้ดี
1.หั่นหรือสับอาหารที่แข็งและเหนียวเป็นลูกเต๋าเล็กๆ หั่นเป็นชิ้นบางๆ โดยเฉพาะอาหารประเภทเนื้อสัตว์ โดยเน้นที่เนื้อสัตว์ที่ย่อยง่าย และโปรตีนคุณภาพดี เช่น ปลา ไข่ เนื้อไม่ติดมัน เต้าหู้ ในการปรุงอาหาร วัตถุดิบจะถูก
4.เน้นจัดอาหารที่มีสีสัน น่ารับประทานไม่จำเจและเป็นชิ้นเล็กชิ้นเล็กเคี้ยวง่าย
แนวทางการแก้ไขปัญหาเคี้ยวไม่ค่อยได้ในผู้สูงอายุ
กินข้าวเป็นหลักเน้นข้าวกล้อง ข้าวดัสนีน้อยสลับ กับอาหารประเภทแป้งเป็น บางมื้อโดยเน้นเนื้อสัมผัสที่อื่นนุ่มและเคี้ยวง่าย
กินปลา ไข่ เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ถั่ว และผลิตภัณฑ์เป็นประจำโดยเตรียมอาหารอ่อนนุ่ม เคี้ยวง่าย และย่อยง่าย
กินอาหารให้ครบ 6 กลุ่มแต่ละกลุ่มให้หลากหลาย ในสัดส่วนที่เหมาะสมตามธงโภชนาการผู้สูงอายุ
ปัญหาที่ 2 การทรงตัวในผู้สูง
การเคลื่อนไหวน้อยลงส่งผลกระทบต่อการตอบสนองเพื่อให้ได้การทรงตัวที่สมบูรณ์ของระบบประสาท motor เกิดภาวะเสียการทรงตัวได้ง่าย
โดยทั่วไปสมองของผู้สูงวัย (aging brain) เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งโครงสร้างและสรีรวิทยาตามอายุ
และลักษณะบุคคล ทำให้ประสิทธิภาพในการ processing ข้อมูลของระบบประสาทสัมผัสต่างๆ
การทรงตัวในผู้สูงวัยมักเกี่ยวข้องกับอาการเวียนศีรษะเวียนโรคกระดูกและข้อเสื่อม กล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบประสาทรับสัมผัสเสื่อม โรคทางสมองหรือหลายสาเหตุรวมกัน
สาเหตุอาการการทรงตัวในผู้สูงวัย
การเปลี่ยนแปลงตามวัย หมายถึง การเสื่อมประสิทธิภาพการทำงานของระบบประสาทรับสัมผัสและระบบประสาท motor ตลอดทางเดินประสาท เช่นเดียวกับระบบกลไกการผสมผสานของสมองส่วนกลาง
พยาธิสภาพที่เกิดในทุกกลุ่มอายุ พบบ่อยขึ้นในผู้สูงวัย เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงตามวัย ทำให้พยาธิสภาพดังกล่าวเกิดง่ายขึ้น และเนื่องจากอายุยืนจึงมีโอกาสสัมผัสพยาธิสภาพได้นานกว่าโรคที่พบบ่อยชัดเจน คือ โรค BPPV ซึ่งเป็นโรคที่พบบ่อยที่สุดในทุกกลุ่มอายุ
ความหลากหลายของสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิต เพิ่ม โอกาสให้เกิดอาการเวียนศีรษะ/เวียนศีรษะหมุน และเสียการทรงตัวในผู้สูงวัยมากขึ้น ตัวอย่างที่พบบ่อย คือ การรับประทานยาหลายขนานเนื่องจากมีโรคเรื้อรังหรือภาวะผิดปกติต่างๆ
พยาธิสภาพการทรงตัวไม่ดีในผู้สูงอายุ
ผู้สูงวัยอาการเวียนศีรษะเป็นอาการเตือนซึ่งบอกเหตุที่รุนแรงมากกว่ากลุ่มอื่น ๆ เนื่องจากมีความเป็นไปได้สูง เสี่ยงกับการหกล้ม อ่อนแรง สมองเริ่มเสื่อม หรือหลายสาเหตุร่วมกัน
นอกจากนี้ผู้สูงวัยมักป่วยเป็นโรคเรื้อรังมากกว่าหนึ่งโรค จึงเป็นเหตุให้ต้องรับประทานยามากกว่าหนึ่งชนิดเช่นกัน ผู้สูงวัยบางรายไม่มีโรคเฉพาะที่ทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะ เสียการทรงตัว และเปลี่ยนแปลงตามการแปรผลโดยทั้งผู้ป่วยเองและแพทย์ผู้ดูแล
การสูญเสียการทรงตัวในผู้สูงวัยมักเกี่ยวข้องกับอาการเวียนศีรษะ โรคกระดูกและข้อเสื่อมกล้ามเนื้ออ่อนแรง ระบบประสาทรับสัมผัสเสื่อม โรคทางสมอง โรคทางจิตใจ หรือหลายสาเหตุรวมกัน
การป้องกันการทรงตัวไม่ดี
2.การสร้างเสริมภาวะโภชนาการที่ดี การรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หรือเมื่อต้องใช้ยาควรที่จะปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร
3.การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน เช่น โครงเหล็ก 4 ขา (Walker) ไม้เท้า ฯลฯ
1.การส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ กรฝึกเดินที่ถูกต้อง รวมถึงการสวมรองเท้าที่เหมาะสม การออกกำลังกายเพื่อเสริมสร้างกำลังของกล้ามเนื้อ ฝึกการทรงตัว
4.การปรับพฤติกรรมส่วนตัว เช่น การค่อย ๆ ลุกยืนอย่างช้า ๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ความดันโลหิตตกในท่ายืนหรือหน้ามืด การหาราวสำหรับเกาะเดิน
5.ประเมินการใช้ยา หลีกเสี่ยงการใช้ยาที่ไม่จำเป็นหรือมากเกินไป หากได้รับยาหลายชนิดที่อาจส่งผลให้เกิดการหกล้มแนะนำให้ปรึกษาแพทย์
การส่งเสริมสุขภาพการทรงตัวไม่ดี
2.การฝึกเดินทรงตัว (Balance Walk) ยืนตรง หน้ามองตรงไปด้านหน้า จากนั้นเดินเป็นเส้นตรงไปข้างหน้า โดยให้เท้าข้างหนึ่งอยู่ ด้านหน้าเท้าอีกข้าง ขณะที่เดินให้ยกขาหลังขึ้นมา ค้างไว้ เ วินาที ก่อนก้าวต่อไป ทำซ้ำเช่นนี้ 20 ก้าว
3.การฝึกกล้ามเนื้อขา (Squat) ยืนจับพนักเก้าอี้ กางเท้าทั้งสองข้าง ออกประมาณช่วงหัวไหล่ จากนั้นให้ย่อเข่าทั้งสองข้างลง (เหมือนจะนั่งลงเก้าอี้ ให้หลังและศีรษะตั้งตรงค้างไว้ประมาณ 1-2 วินาที และให้เหยียดเข่ายืนขึ้นสู่ท่า เริ่มต้น ทำซ้ำ 10 ครั้ง
1.ยืนยกขาเดียว (Standing Knee Lif) ยืนตรงเท้าชิด มือเท้าเอว จากนั้นยกขางอเข่าขึ้นมาหนึ่งข้าง โดยให้ต้นขาขนานกับพื้น ทำค้างไว้ อาจจะใช้โต๊ะหรือเก้าอี้มาวางไว้ข้าง ๆ เพื่อให้มือจับในการช่วยพยุงตัวป้องกันการล้ม หรือหากแข็งแรงมากขึ้น
ฟื้นฟูการทรงตัว
การทรงตัวอย่างเป็นระบบเพื่อฝึกฝนฟื้นฟูระบบประสา1 vestibular ลดอาการเวียนศีรษะเวียนศีรษะหมุนและเสียการทรงตัว ให้สามารถกลับมาใช้ชีวิตได้ตามปกติให้มากที่สุด
จัดการฝึกฝน โดยนักกายภาพบำบัด หรือนักกิจกรรมบำบัตที่เชี่ยวชาญพิเศษ ในหน่วยดูแลผู้สูงวัย อาจฝึกพยาบาลพิเศษในการดูแล
การฟื้นฟูการทรงตัว เป็นการจัดท่าเคลื่อนไหวในการบริหารร่างกาย