Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, เมธาวดี ลาสอน 621201147 - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ
สาเหตุของความเครียด
สาเหตุด้านร่างกาย
การเจ็บป่วย
ขาดปัจจัยพื้นฐาน
ถูกทำร้าย
สาเหตุด้านจิตใจ
สัมพันธภาพกับบุคคลในครอบครัว
การถูกทอดทิ้ง
การสูญเสีย
สาเหตุด้านสังคม เช่น สภาวะทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ทางสังคม
การตอบสนองต่อความเครียด
การปรับตัว
General Adaptation Syndrome ( GAS ) การปรับตัวของร่างกายทั่วๆไป
Local Adaptation Syndrome ( LAS ) เป็นการปรับตัวเฉพาะที่
การสนองตอบความเครียดด้านจิตใจ เมื่อเกิดความเครียด
การหนีและเลี่ยง
ยอมรับพร้อมกับเผชิญกับภาวะความเครียด
เรียนรู้ที่จะอยู่กับความเครียด
การประเมินความเครียด
ประเมินโดยใช้แบบสอบถาม เช่น แบบวัดความเครียด กรมสุขภาพจิต แบบวัดความเครียดสวนปรุง เป็นต้น
การสังเกตและสัมภาษณ์บุคคลหรือผู้ใกล้ชิด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องทดลอง
การใช้เทคนิคการฉายภาพ
การวัดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
การจัดการต่อความเครียด
การจัดการความเครียดโดยมุ่งแก้ปัญหา
การปรับแก้โดยมุ่งปรับอารมณ์
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีภาวะเครียด
ประเมินปัญหาทางการพยาบาล
การซักประวัติ
การสังเกต ดูการเปลี่ยนแปลง
ใช้แบบประเมินความเครียด
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะเครียดเนื่องจากป่วยรุนแรง
มีอาการนอนไม่หลับเนื่องจากมีความเครียด
ใช้แบบประเมินความเครียด
การปฏิบัติทางการพยาบาล
ดึงเอาแหล่งประโยชน์ทั้งภายนอกและภายในของบุคคลที่ประสบภาวะ
พยาบาลควรช่วยบุคคลให้มองเหตุการณ์ใหม่หลายแง่มุม
สอนให้ใช้เทคนิคผ่อนคลาย เช่น การนั่งสมาธิ
พยาบาลควรให้คำแนะนำหาทางออกอื่นๆ เช่น การอาบน้ำ การพักผ่อน การออกกำลังกาย
การให้การพยาลเพื่อป้องกันการเกิดความเครียด มี 5 วิธี
ฝึกคิดในทางบวก
ฝึกผ่อนคลาย
ฝึกหายใจ ฝึกสติ ฝึกสมาธิ
ออกกำลังกาย
การพักผ่อน
การประเมินผลทางการพยาบาล ใช้เทคนิคเดียวกันกับการเก็บรวบรวมข้อมูล
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
ความต้องการพลังงาน
ผู้สูงอายุชายวันละ 2,250 kcal.
ผู้สูงอายุหญิงวันละ 1,850 kcal.
ความต้องการโปรตีน 1gm : ฺ" 1 Kg. เช่น เนื้อปลา เนื้อไม่ติดมัน ปลา ไข่ นม เต้าหู้
ความต้องการไขมัน ไม่เกิน 30% ของพลังงานทั้งหมด
ความต้องการคาร์โบไฮเดรต 50-55% ของพลังงานทั้งหมด เช่น ข้าว ข้าวซ้อมมือ แป้ง เผือก มัน ข้าวโพด
ความต้องการแร่ธาตุ แคลเซียมและเหล็ก
ความต้องการวิตามิน เช่น วิตามินซี วิตามินอี เบต้าแคโรทีน
ความต้องการน้ำ ควรได้รับน้ำไม่ต่ำกว่า 1,500 ml : dl
การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินอาหารที่บริโถค
การประเมินปริมาณอาหารที่รับประทานใน 24 ชม.
การสำรวจความถี่ของการได้รับอาหาร
การเฝ้าดูการบริโภคอาหารและการบันทึก
การวัดสัดส่วนของร่างกาย - ประเมิน BMI
การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง
การตรวจวัดค่าทางชีวเคมี เช่น ภาวะซีด โปรตีนในร่างกาย เป็นต้น
การประเมินทางคลินิก
การคัดกรองภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุโดยใช้แบบประเมิน
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ภาวะเศรษฐกิจและสังคม
ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหาร เช่น การเดินทาง
ภาวะโภชนาการเดิมที่เดิมที่เป็นอยู่และบริโภคนิสัย เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย เช่น ภาวะทุพพลภาพ
ปัญหาด้านจิตใจ เช่น ภาวะซึมเศร้า
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการผู้สูงอายุ เช่น การรับรสและดมกลิ่น ความต้องการพลังงานลดลง
ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุและแนวทางการพยาบาล
แนวทางการพยาบาล ภาวะโภชนาการเกิน
ประเมินสาเหตุของภาวะโภชนาการเกิน เช่น ปริมาณอาหารที่รับประทาน
ส่งเสริมการควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ความรู้การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
ภาวะโภชนาการต่ำ
ประเมินสาเหตุภาวะทุพโภชนาการ เช่น ปริมาณอาหารที่รับประทาน
การจัด/ปรับปริมาณอาหารให้ผู้สูงอายุให้เหมาะสม
การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บเนื่องจากมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในผู้สูงอายุ
ลานสายตาแคบลง
การเสื่อมถอยทางการได้ยิน
ความเสื่อถอยของกล้ามเนื้อ
ความเสื่อมถอยของกระดูก
ประสาทรับความรู้สึกลดน้อยลง
ระบบประสาทและสมองเสื่อมถอย
สิ่งแวดล้อมของที่อยู่อาศัยที่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
ตัวบ้าน ควรเป็นบ้านชั้นเดียว ไม่มีขั้นที่สูง
พื้น ควรปรับให้มีลักษณะเป็นพื้นเรียบ
บันได ควรติดตั้งราวจับให้มั่นคง
ประตู ไม่ควรมีธรณีประตู
ห้องนอน ควรจัดให้อยู่ในที่ ที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก
ห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น
เก้าอี้ ควรมีพนักพิง
แสงไฟสว่างเพียงพอในเวลากลางวันอละกลางคืน
สัญญาณขอความช่วยเป็นสิ่งสิ่งจำเป็น
การตกแต่งภายในบ้านควร รูปภาพ
อาจปรับสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับภาวะทุพพลภาพ
การนันทนาการในผู้สูงอายุกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ความหมายนันทนาการ
กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามว่าง เพื่อให้เกิดความสนุกเพลิดเพลิน
คุณลักษณะของนันทนาการ
ต้องมีการกระทำ ( Activity ) เช่น การเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบปฏิบัติ
ต้องเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ
กิจกรรมนั้นต้องทำในเวลาว่าง
เป็นกิจกรรมที่ให้การศึกษา
กิจกรรมนั้นต้องสร้างความพึงพอใจ ให้แก่ผู้เข้าร่วม
กิจกรรมที่กระทำต้องไม่เป็นอาชีพ
กิจกรรมต้องมีจุดหมาย เพื่อให้มีทิศทางปฏิบัติที่ถูกต้อง
กิจกรรมมีความยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนดัดแปลงกับสภาพเป็นอยู่ได้
นันทนาการมีผลพลอยได้ อาจได้ผลด้านอื่นด้วย
ประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการต่อผู้สูงอายุ
ป้องกันซึมเศร้า
นำไปสู่การมองโลกในแง่ดี
ฝึกสมองให้คิดวางแผน
เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีบทบาทในสังคม
กิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสำหรับผู้สูงอายุ
กีฬา การละเล่น
ศิลปหัตถกรรม
ร้องเพลง เล่นดนตรี
การเต้นรำ
อ่านหนังสือ การเขียนบันทึก
กิจกรรมการแสดง
การท่องเที่ยวทัศนศึกษาที่วัด
กิจกรรม วันขึ้นปีใหม่ เข้าพรรษา
กิจกรรมจิตอาสาพัฒนาชุมชน
แนวทางการจัดกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ
ประเมินผู้สูงอายุ
คำนึงถึงความต้องการความถนัด
คำนึงถึงข้อจำกัดทางร่างกาย
บุคลากรที่จัดกิจกรรม ควรมีความรู้ความสามารถที่เหมาะสม
เลือกกิจกรรมให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้สูงอายุ
เตรียมการ เตรียมสถานที่ อุปกรณ์
สิ้นสุดกิจกรรม กล่าวชมเชย ให้กำลังใจ ประเมินผล
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับในผู้สูงอายุ
กลไกทางสรีรวิทยาของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
NREM เป็นระยะที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว
REM เป็นขั้นตอนของการนอนหลับๆ ตื่นๆ
แบบแผนการนอนหลับในผู้สูง
ระยะ Stage 1 NREM ทำให้ตื่นบ่อยตอนกลางคืน
ระยะ Stage 3 4 NREM การนอนหลับสนิทลดลง
ระยะ REM ลดลง
ตื่นเป็นระยะ 1-2 ครั้งต่อคืน
ตื่นเร็วกว่าเดิม
ปัจจัยที่มีผลต่อการนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
การประเมินภาวะนอนไม่หลับ
คำถามเบื้องต้นสำหรับการประเมินการนอน ได้แก่ นอนหลับยากหรือไม่ ตื่นกลางดึกหรือไม่ คืนละประมาณกี่ครั้ง
ตรวจสอบประวัติโรคประจำตัว
ตรวจสอบประวัติการใช้สารเสพติด
สังเกตอาการและอาการแสดง
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
เข้านอนและตื่นนอนให้ตรงเวลา
เข้านอนเมื่อรู้สึกง่วงเท่านั้น
จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบ
ที่นอน หมอนอ่อนนุ่มหรือไม่แข็งเกินไป สะอาด
ก่อนเข้านอนควรทำความสะอาดร่างกาย
หลีกเลี่ยงคาเฟอีน - รับประทานอาหารมื้อเย็นขนาดพอเหมาะ
การมีส่วนร่วมในสังคม
ความหมาย การมีส่วนร่วมในสังคม
การมีกิจกรรมในครอบครัว ชุมชน และสังคม การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในสังคม
ความสำคัญของการมีส่วนร่วมในสังคมของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่เพียบพร้อมไปด้วยความรู้ และประสบการณ์ เป็นผู้ถึงพร้อมทั้งคุณวุฒิ และวัยวุฒิ เป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า
ทฤษฏีเกี่ยวกับผู้สูงอายุที่กล่าวถึง บทบาททางสังคม และกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุไว้
ทฤษฎีบทบาททางสังคม
อายุเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่ง ในการที่ที่จะกำหนดบทบาทของแต่ละบุคคล ซึ่งบทบาทดังกล่าว จะส่งผลไปถึงยอมรับบทบาททางสังคม
ทฤษฎีกิจกรรมทางสังคม
อธิบายว่า ถ้าบุคคลใดมีกิจกรรมมาก จะสามารถปรับตัวได้มากขึ้นเท่านั้น และมีความพึงพอใจในชีวิตสูง ที่ทำให้เกิดความสุขในการดำเนิน
ประโยชน์ที่ได้จากกิจกรรมบริการผู้อื่น
การได้เสียสละ
การช่วยเหลือผู้อื่นในการแก้ปัญหา
ติดต่อสัมพันธ์กับผู้อื่น
การเสียสละต่อสังคม
การเสียสละหรือบริการผู้อื่น
ประเภทของการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ เช่น การช่วยเหลืองานของสมาชิกในครอบครัว
กิจกรรมที่มีรูปแบบ เช่น เข้าร่วมในสมาคมต่างๆ
กิจกรรมที่ทำคนเดียว เช่น การทำงานในยามว่าง
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ประโยชน์ของการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
ทำให้ร่างกายมีสรรถภาพทางกายดีขึ้น
ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ เช่น หัวใจ อ้วน
ลดภาวการณ์พึ่งพา ลดภาวะทุพพลภาพ
ด้านจิตใจ ลดภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล
ประเภทของการออกกำลังกายและการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผุ้สูงอายุ
ประเภท 1 การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ
ประเภท 2 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
ประเภท 3 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและการผ่อนคลาย
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ - ตรวจร่างกายว่าไม่มีความเจ็บป่วย
ประเมินระดับการทำกิจกรรม
เลือกรูปแบบการออกกำลังกาย
เน้นการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ
ผู้สูงอายุที่มีข้อจำกัดควรประยุกต์การออกกำลังกายในกิจวัตรประจำวัน
หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่เป็นการแข่งขัน
สิ่งที่บ่งชี้ปริมาณการออกกำลังกายที่เหมาะสมและมีประโยชน์ ได้แก่ อัตรารการเต้นของหัวใจ เป้าหมายอยู่ระหว่าง 60-80 - ควรมีการอบอุ่นร่างกาย Warm up - ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง 20-30 นาที 3-5 ครั้ง/สัปดาห์ - ก่อนออกกำลังกาย ควรดื่มน้ำ 1 แก้วทุก 15-20 นาที เพื่อชดเชยน้ำที่เสียไปจากเหงื่อ
ข้อควรระวังในการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
ไม่ออกกำลังกายขณะเจ็บป่วย
ไม่ออกกำลังกายหลังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ
งดออกกำลังกายชั่วคราวหากมีอาการผิดปกติ
สังเกตอาการหอบ
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
ความหมายของการพลัดตกหกล้ม
พลัดตกหกล้ม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากการที่บุคคลเสียหลักล้มลงไปพื้น ซึ่งไม่ได้เกิดจากการถูกทำร้ายหรือการหมดสติ
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในบุคคล
ปัจจัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการชราภาพ สายตา กล้ามเนื้ออ่อนแรงในวัยชรา ท่าเดินและการทรงตัว การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ การเปลี่ยนแปลงของภาวะจิตใจ
ปัจจัยที่เกิดจากการเจ็บป่วยหรือพยาธิสภาพของโรค ความผิดปกติของโรคระบบการไหลเวียนโลหิตและหัวใจ ความผิดปกติของระบบประสาท ความผิดปกติของกล้ามเนื้อและกระดูก ความผิดปกติของเท้า การได้รับยาหลายชนิดพร้อมกัน
ปัจจัยภายนอกบุคคล
สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน
ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย อาการฟกช้ำ เคล็ดขัดยอก
ทางด้านจิตใจ เกิดความกลัว วิตกกังวล
ทางด้านสังคม ลดการออกไปพบเพื่อนและครอบครัว
การประเมินความเสี่ยงในการพลัดตกหกล้ม
ประเมินความสามารถในการเดินและการทรงตัว
ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน
แบบประเมินสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย
หลักการพยาบาลเพื่อการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
การจำแนกผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม - การให้คำแนะนำแก่ผู้สูงอายุ ในเรื่องการป้องกันการพลัดตกหกล้ม
การดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงต่อการพลัดตกหกล้ม
เมธาวดี ลาสอน 621201147