Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การป้องกันและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, นางสาวจริยาดา คำวงษ์ …
บทที่ 6
การป้องกันและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
1. การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
1.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การทาหน๎าที่ของการรับรสและการดมกลิ่นลดลง
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง โดยหลั่งกรดไฮโดรคลอริคและเปปซินลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
เนื้อเยื่อที่ปราศจากไขมันลดลง ทาให๎ผู๎สูงอายุดูผอมลง
ความต๎องการพลังงานขั้นพื้นฐานลดลง
ปัญหาทางด๎านจิตใจ เชํน ภาวะซึมเศร๎า ความเหงาจากการเกษียณ
คู่ครองเสียชีวิต ลูกหลานทอดทิ้ง
ภาวะเศรษฐกิจและสังคมเชํน ผู๎สูงอายุที่ยากจนขาดรายได้หรือผู้ดูแลขาดความรู๎ในการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสม
1.2 ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
ความต้องการพลังงาน
ผู้ชายวันละ 2,250 กิโลแคลอรี่
ผู้หญิงวันละ 1,850 กิโลแคลอรี่
คำ BEE (กิโลแคลอรี่/วัน : ชาย) = 66.5 + (13.8 x น.น.เป็นก.ก.) + (5x สํวนสูง ซม.) – (6.8 x อายุเป็นปี)
คำ BEE (กิโลแคลอรี่/วัน : หญิง) = 65.5 + (9.6 x น.น.เป็นก.ก.) + (1.9x สํวนสูง ซม.) – (4.7xอายุเป็นปี)
ความต้องการไขมัน ไม่เกิน 30% ของพลังงานทั้งหมด
ความต้องการคาร์โบไฮเดรต 50-55 % ของพลังงานทั้งหมด
ความต้องการแร่ธาตุ ผู้สูงอายุต้องการแร่ธาตุเท่าในวัยผู้ใหญ่
ความต้องการวิตามิน เกลือแร่ใยอาหารและสารแอนติออกซิแดนท์ ซึ่งช่วยต้านอนุมูลอิสระ
ความต้องการน้ำ ผู้สูงอายุควรได้รับน้ำไม่ต่ำกว่า 1,500 ml/day
1.3 การประเมินภาวะโภชนาการ
การประเมินอาหารที่บริโภค (dietary assessment)
ประเมินการได้รับอาหารใน 24 ชม.
การสำรวจความถี่ของการทานอาหาร
การเฝูาดูการบริโภคอาหารและการบันทึก
การวัดสัดส่วน BMI = BW/Heigh(m)2
< 18.5 ผอม
18.5 – 24.9 ปกติ
24.9 อ้วน
การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง (skinfold thickness)
ในผู้หญิงบริเวณหลังแขน
ผู้ชายบริเวณหน้าท้องใกล้สะดือห่าง 2 ซม.
การตรวจวัดค่าทางชีวเคมี
การประเมินทางคลินิก
ประกอบด้วย การซักประวัติและการตรวจรำงกาย
การคัดกรองภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุโดยใช้แบบประเมิน
ได้แก่ แบบประเมินภาวะโภชนาการ MNA , NAF , Thai NRC
1.4 ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุและแนวทางการพยาบาล
ภาวะโภชนาการเกิน (over nutrition)
ประเมินสาเหตุของภาวะโภชนาการเกิน
สํงเสริมการควบคุมน้าหนักให๎อยูํในเกณฑ์ปกติ
ให้ความรู้การรับประทานอาหารที่เหมาะสม
ภาวะโภชนาการต่ำ (under nutrition)
ประเมินสาเหตุของภาวะทุพโภชนาการ
การจัด/ปรับปริมาณอาหารให้ผู้สูงอายุให้เหมาะสม
2. การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการออกกาลังกายในผู้สูงอายุ
ประเภทของการออกกำลังกาย
ประเภทที่ 1 การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ
การออกกำลังกายที่ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่ (isometric exercise)
การออกกาลังกายที่กล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงความยาว (isotonic
exercise)
ประเภทที่ 2 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
การออกกำลังกายที่ต้องใช้ออกซิเจนจานวนมากโดยสม่ำเสมอและติดตํอกัน (aerobic exercise)
การออกกำลังกายที่ไมํได้ใช้ออกซิเจนอย่างสม่ำเสมอหรือใช้แต่น้อย
(anaerobic exercise)
ประเภทที่ 3 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและการผ่อนคลาย
เช่น โยคะ รามวยจีน ไทชิ ชี่กง เป็นต้น
ข้อห้ามการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ห้าม หรือ หลีกเลี่ยง isometric exercise
ไม่ควรออกกาลังกายที่ต้องออกแรงเกร็ง เช่น กระโดดน้ำ การยกน้ำหนัก
ขณะเจ็บป่วยหรือหายจากการเจ็บป่วยใหม่ ๆ
หลังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ
สังเกตอาการหอบ เหนื่อย เจ็บหน้าอก หัวใจเต้นผิดปกติ
3. การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับในผู้สูงอายุ
1. NREM (non rapid eye movement)
stage 1 ระยะเริ่มหลับหรือเคลิ้ม (falling asleep) 1-7 นาที
stage 2 ระยะเริ่มง่วง (drowsy) 10-25 นาที
stage 3 ระยะหลับลึก (deep sleep) 20-40 นาที
stage 4 ระยะหลับลึก (deepsleep) ปลุกตื่นยาก
2. REM (rapid eye movement)
เป็นระยะที่มีการกลอกตาอยำงรวดเร็ว เป็นขั้นตอนของการนอนหลับๆ ตื่นๆ
แบบแผนการนอนในผู้สูงอายุ
Stage 1 NREM เพิ่มขึ้น 8-15%
Stage 3-4 NREM ลดลง 15-20% ทำให้การนอนหลับสนิทลดลง
REM ลดลง 20-25% ตื่น 1-2 ครั้ง/คืน ตื่นเร็วกว่าเดิม งีบหลับตอนกลางวันเพิ่มขึ้น
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
หลีกเลี่ยงการหลับตอนกลางวัน
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ผ่อนคลาย
หลีกเลี่ยงอาหารเย็นมื้อหนัก
ที่นอน หมอนไม่แข็ง นุ่มเกินไป
4. การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ
สาเหตุความเครียดในผู้สูงอายุ
การเจ็บป่วย
สูญเสียบทบาท เช่น เกษียณอายุ ผู้นาครอบครัว
ขาดปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิต เช่น ไร้ที่อยู่
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว การถูกทอดทิ้ง ความตาย เศรษฐกิจ
การประเมินความเครียด
การประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
การสังเกตและสัมภาษณ์บุคคลหรือผู้ใกล้ชิด
การตรวจรำงกาย เพื่อดูความผิดปกติของรำงกาย
5. การนันทนาการในผู้สูงอายุกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
คุณลักษณะของนันทนาการ
ต้องมีการกระทำ (Activity)
ต้องเข้าร่วมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ (Voluntary)
กิจกรรมนั้นต้องกระทำในเวลาว่าง (Free Time)
กิจกรรมนั้นต้องสร้างความพึงพอใจ
กิจกรรมมีความยืดหยุ่น (Flexibility)
ประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการต่อผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย : แข็งแรง อายุยืน ปhองกันโรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคกระดูกพรุน พัฒนาระบบภูมิคุ้มกัน
ด้านจิตใจ รู้สึกมีค่าในตนเอง
ด้านสติปัญญา ฝึกให้สมองได้คิดวางแผน
ประเภทกิจกรรมนันทนาการ
การเกม กีฬา และ การละเล่น
ศิลปหัตถกรรม และงานฝีมือ ช่วยส่งเสริมการใช้ข้อมือ ข้อนิ้ว
การร้องเพลงและเล่นดนตรี
การเข้าจังหวะและการเต้นรำ
การด้านภาษาและ วรรณกรรมเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมปัญญาความคิด
การแสดงและการละคร
การอาสาสมัครและบริการรวมกลุ่มผู้สูงอายุที่มีความต้องการบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
วิธีดำเนินกิจกรรมนันทนาการ
ประเมินผู้สูงอายุ
การเลือกกิจกรรมนันทนาการให้เหมาะสม
การเตรียมการ เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ กระบวนการ
การดำเนินกิจกรรม เคารพในสิทธิ ระมัดระวังอุบัติเหตุ
การสิ้นสุดกิจกรรม พูดชมเชย ให้กำลังใจ
การประเมินผลการจัดกิจกรรมนันทนาการ
6. การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
สิ่งแวดล้อมของที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสาหรับผู้สูงอายุ
ตัวบ้าน
ควรเป็นบ้านชั้นเดียว ไม่มีขั้นสูง มีชานพัก หรือบันไดกว้างลึก แสงสว่างเพียงพอ ไม่มีพื้นต่างระดับ
พื้นบ้าน
ควรปรับให้มีลักษณะเป็นพื้นเรียบ ไม่ขรุขระและไม่ขัดมันจนลื่น
ห้องน้ำ
ที่สำคัญควรทำราวเกาะไว้รอบๆ
ห้องนอน
อยู่ใกล้ห้องน้าอากาศถ่ายเทสะดวก
บันได
ควรติดตั้งราวจับที่มั่นคงเพื่อให้สะดวกในการยึดเกาะเดินขึ้นลง
7. การมีส่วนร่วมในสังคม
ความหมาย
การมีกิจกรรมในครอบครัว ชุมชน และสังคม
ประเภทของกิจกรรมการมีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ (Informal activity) เช่น การชํวยเหลืองานของสมาชิกในครอบครัว เพื่อน ญาติ
กิจกรรมที่มีรูปแบบ (Formal activity) เช่น การเข้ากลุ่มทางศาสนา
กิจกรรมที่ทาคนเดียว (Solitary activity) เช่น การทางานในยามว่าง
8. การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
1) ปัจจัยภายใน (Intrinsic factor)
การมองเห็นเสื่อมลง
กล้ามเนื้ออ่อนแรงในวัยชรา
ท่าเดินและการทรงตัวผิดปกติ
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาทและสมอง
2. ปัจจัยภายนอก (Extrinsic factor)
สิ่งแวดล้อมภายในบ้าน เช่น พื้นบ้านลื่น แสงสว่างไม่เพียงพอ บันไดไม่มีราวจับ ห้องส้วมไม่เหมาะสม ภายในบ้านมีสิ่งของวางเกะกะ
ผลกระทบของการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
ด้านร่างกาย เช่น อากรฟกช้า เคล็ดขัดยอก มีแผลฉีกขาด กระดูกหัก หรือสมองได๎รับการกระทบกระเทือน
ด้านจิตใจ จะเกิดความกลัว วิตกกังวล ตลอดจนสูญเสียความมั่นใจ
ด้านสังคม มีการลดการติดตํอกับสังคมหรือลดการทำกิจกรรมทางสังคม
แนวทางป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
การส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ การฝึกเดินที่ถูกต้อง
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน เช่น โครงเหล็ก 4 ขา (Walker) ไม้เท้า
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม
หลักการพยาบาลเพื่อการป้องกันการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
การจำแนกผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
การให้คำแนะนำแกํผู้สูงอายุ
ดูแลผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงสูงต๋อการพลัดตกหกล้ม
นางสาวจริยาดา คำวงษ์
รหัส 621201110 ชั้นปี่ 3