Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บบที่ 8สารพิษในชีวิตประจำวันและการป้องกันแก้ใข, นางสาวจันทรา แซ่ย่าง รหัส…
บบที่ 8สารพิษในชีวิตประจำวันและการป้องกันแก้ใข
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสารพิษ
ประเภทของสารพิษ
สารทำลายระบบสืบพันธ์
สารก่อมะเร็ง
สารกัดกร่อน
สารขัดขวางการหายใจ
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคืองเป็นสารที่ไม่ออกฤทธิ์กัดกร่อนผิวหนัง
สารทำลายระบบประสาท
พิษวิทยา
พิษวิทยาเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งซึ่งศึกษาถึงผลกระทบของสารเคมีต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสภาพแวดล้อม
สารพิษในอาหาร
สารพิษที่พบในธรรมชาติ
ส่วนประกอบของสารพิษที่พบในพืชและสัตว์ เช่น สัตว์กินอาหารที่มีสารพิษเข้าไป
Anti-vitamin
Anti-enzyme
สารพิษที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์
สารเคมีที่ใช้ในการเกษตร
วัตถุเจือปนอาหาร
สารเคมีที่มาจากภาชนะบรรจุสู่อาหาร
กลไกและกระบวนการเกิดพิษของสาร
Passive diffusion การแพร่เกิดจากความเข้มข้นที่แตกต่างกันของสารพิษระหว่างผิวของเซลล์ด้านในแบะด้านนอก
Facilitated diffusion การแพร่ที่เกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นด้วย ทำให้เกิดการแพร่ได้เร็วขึ้น
Active transport การส่งผ่านของสารพิษเข้าเซลล์โดยมีตัวนำ และใช้พลังงาน
สารเคมีที่มีฤทธิ์กัดกร่อน
เป็นอันตรายโดยรวมต่อเนื้อเยื่อของสิ่งที่มีชีวิต
สมบัติ
เป็นสารที่มีน้ำเป็นส่วนประกอบ ที่มีความกรดด่าง
เป็นของเหลวที่กัดกร่อนเหล็กกล้า
ตัวอย่าง
กรดแอซิติก
กรดไฮโปคลอรัส
กรดออกซาลิก
โพแทสเซียมไฮดรอกไซด์
กรดคาร์บอกซิลิก
โซเดียมไฮดรอกไซด์
กรดไนตริก
ซิลเวอร์ไนเตรต
กรดซัลฟูริก
น้ำแอมโมเนีย
กรดไฮโดรคลอริก
โครเมียม
อันตรายของโครเมียม
ผนังกั้นในจมูกถูกเจาะทะลุ
มะเร็งปอด
ผิวอับเสบ
แผลที่เกิดจากโครเมียม
สารเคมีที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาท
แคดเมียม
ตะกั่ว
พิษ
ระบบเลือด สารตะกั่วจะไปรบกวนและยับยั้งการสร้าง heme ที่ไขกระดูก
ระบบประสาท ทำให้สมองบวม
ไต ส่งผลให้ท่อไตส่วนต้นถูกทำลาย อาจเกิดภาวะไตอักเสบและไตวาย
ประโยชน์
ใช้ชุบโลหะด้วยไฟฟ้า
ใช้ทำเป็นเม็ดสี
ใช้ทำแบตเตอร์รี่
พิษ
ชนิดเฉียบพลัน เกิดจากการหายใจเอาไอหรือฝุ่นของฝุ่นของแคดเมียมเป็นจำนวนมาก เกิดความระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจ
ชนิดเรื้อรัง เกิดจาการได้รับแคดเมียมไม่ว่าจะเป็นการหายใจ กินหรือดูดซึมเข้าทางผิวหนัง มีอาการเจ็บหัวเข่า ปวดตามข้อ
แมงกานีส
ประโยชน์
นำเอามาบดเป็นผงทำถ่านไฟฉาย
ใช้เป็ยตัวทำปฏิกิริยาในการถลุงโลหะ
พิษ
ชนิดเรื้อรัง คือ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
อาการทางประสาท เช่น อยากหัวเราะหรือร้องไห้ก็จะทำและจะทำเป็นพักๆ
สารหนู
อาการทางทางเกิดหายใจ ทำให้ระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อเมื่อสูดหายใจเข้าไปบ่อยๆนานๆ ทำให้เยื่อบุกั้นจมูกทะลุ
อาการทางผิวหนัง อักเสบบวมแดง
อาการทางตา จะเกิดอาการตาแดง ตาอักเสบ
อาการทางสมอง ทำให้เกิดการระเคืองต่อสมอง กระสับกระส่าย ความจำเสื่อม
สารเคมีที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง
สารก่อมะเร็ง (carcinogens) คือสารเคมีที่ทำให้ระบบร่างกายไม่สามารถควบคุมการเจริญเติบโตของเซลได้เซลมะเร็งก็คือเซลที่เจริญเติบโตอย่างผิดปกติ
ขบวนการของการเกิดมะเร็จเป็น 2 ขั้นตอน
ขนวนการเริ่มต้นโดยมีตัวกระตุ้น
ตัวกระตุ้นเสริม
สารก่อมะเร็งในสิ่งแวดล้อม
สารเคมี
อาหารและสิ่งเจือปนในอาหาร
ไขมันจากสัตว์
ปลาเค็ม
อาหารพวกปิ้ง ทอด รมควัน
สารหนู
เบนซีน
ยาฆ่าแมลง
โลหะหนัก
การใช้สารบางอย่างในทางที่ผิด
บุหรี่
การดื่มสุรา
การเคี้ยวหมาก
การติดเชื้อเรื้อรัง
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดบี
การติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ
การติดเชื้อไวรัสเอดส์
รังสี
รังสีจากดวงอาทิตย์
รังสีจากเครื่องใช้ไฟฟ้า
รังสีจากแหล่งปฏิกรณ์ปรมาณู
ยาที่ใช้ในการรักษา
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
ภาวะมลพิษต่าง ๆ
มลพิษในอากาศ
มลพิษในน้ำ
มลพิษในดิน
สารพิษก่อมะเร็งในธรรมชาติ
สารพิษจากเชื้อรา
สารเอ็นไนโตรโป
สารก่อมะเร็งจากพืช
สารเจือปนในอาหารและน้ำดื่ม
สารที่เกิดจากการปรุงอาหาร
มลพิษจากสิ่งแวดล้อม
อาหารดิบที่อาจมีพยาธิ
ยาสมุนไพรที่มีสารหนูหรืออาร์เซนิก
กาแฟหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอิน
เหล้าหรือเอทิลแอลกอฮอล์
บุหรี่
สิ่งเสพติดและยาหลอนประสาท
วัตถุเสพติด หมายถึง สารเคมีหรือวัตถุใดๆ ที่มีผลต่อร่างกาย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ พฤติกรรมและทำให้เกิดการเสพติด
จำแนกออกเป็น 3 กลุ่ม
ยาเสพติดให้โทษ
วัตถุออกฤทธิ์
สารระเหย
สารเสพติด
ฝิ่น
กัญชา
กระท่อม
เห็ดขี้ควาย
มอร์ฟีน
เฮโรอิน
ยาอี หรือยาเลิฟ
สารระเหย
แอลเอสดี
ยาน้ำแก้ไอผสมโคเดอีน
แอมเฟตามีนและยาบ้า
นางสาวจันทรา แซ่ย่าง รหัส 611117021