Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ ระบบทางเดินปัสสาวะระยะวิกฤติ -…
บทที่ 8 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาของ
ระบบทางเดินปัสสาวะระยะวิกฤติ
8.1 ไตวายระยะสุดท้าย
สาเหตุไตวายเรื้อรัง
1) กรวยไตและหน่วยไตอักเสบเรื้อรัง
2) โรคของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงไตตีบแคบ
3) การติดเชื้อหรือมีการอักเสบที่ไตและระบบทางเดินปัสสาวะ
4) มีความผิดปกติของหลอดเลือดฝอย
5) มีความผิดปกติจากการอุดตันในระบบทางเดินปัสสาวะ 6) มีความผิดปกติของไตตั้งแต่ก าเนิดหรือจากกรรมพันธุ์ 7) โรคที่เกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิสึมที่ส่งเสริมให้เกิด
8) จากสาเหตุอื่น ๆ เช่น ยาแก้ปวด ยาต้านการอักเสบบางชนิด และยาปฏิชีวนะที่มี ผลต่อไต เป็นต้น
8.2 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดทดแทนไต
การฟอกเลือด
(Hemodialysis)
โดยทำการฟอกเลือดสัปดาห์ละ 3 ครั้งๆละ 4-5 ชั่วโมง
การบำบัดทดแทนไต
เป็นวิธีขจัดของเสียโดยอาศัยหลักของวิธีการกรอง
ผลสัมฤทธิ์ของการรักษาขึ้นกับปริมาณของเสียที่ถูกขจัดออกและความร่วมมือของผู้ป่วย
ในด้านความสม่ำเสมอของการฟอกเลือดและการจำกัดอาหารและน้ำอย่างเหมาะสม
แพทย์มีบทบาทในการเลือกขนาดและชนิดของตัวกรองที่เหมาะสมและปรับคำสั่งการรักษาให้
ผู้ป่วยได้รับการฟอกเลือดอย่างเพียงพอ
ข้อดีของการฟอกเลือดวิธีHemodiafiltration (HDF)
• ความเสถียรของความดันโลหิตและหัวใจ
• การขจัดของเสียที่มีโมเลกุลขนาดกลางและใหญ่ เช่น b2 microglobulin, indoxyl sulfate เป็นต้น
• ความต้องการยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง (Erythropoietin stimulating agents, ESA) ลดลง
• แก้ไขภาวะทุพโภชาการที่เกิดจากการคั่งของสารพิษจากไตวายได้(5-9)
• เห็นผลดีต่อสุขภาวะในระยะยาวของผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยวิธีโดยผู้ที่มีแนวโน้มจะ ได้รับประโยชน์จากวิธีการฟอกนี้ควรมีความพร้อมของหลอดเลือดเทียมสำหรับการฟอก เลือด
การฟอกเลือดเป็นช่วงแบบยืดระยะเวลา
มีปริมาณสารน้ำเกินมากแต่ไม่สามารถกำจัดได้ด้วยการฟอกเลือดระยะสั้นได้
เป็นการฟอกเลือดอย่างน้อยครั้งละ 6-8 ชั่วโมง
ใช้ในผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตค่อนข้างต่ำ
ใช้ขนาดตัวกรองเล็ก ไม่ต้องอาศัยอัตราการไหลของเลือดสูงจึงทำให้มีความ
เสถียรของระบบไหลเวียนโลหิตดีกว่าวิธีปกติ
การฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในขณะเดียวกันน้ าจะเคลื่อนที่จากส่วนที่มีความเข้มข้นน้อยไปหาส่วนที่มี
ความ เข้มข้นมากด้วยวิธีการที่เรียกว่าออสโมซิส
ถ้าต้องการให้น้ าออกจากร่างกายมากกว่านี้ต้องใช้วิธีการที่เรียกว่า อัลตราฟิลเตรชั่น
ความเข้มข้นทั้งสองข้างเท่ากัน เรียกวิธีการนี้ว่า ดิฟฟิวชั่น (diffusion)
ซึ่งเป็นการกรองของเสียออก จากเลือด
ข้อบ่งชี้ในการทำ HD
• มีระดับ Cr > 12 mg/dl
• BUN >100 mg/dl
• ภาวะน้ าเกินน้ำท่วมปอดไม่ตอบสนองต่อ diuretic drug • ภาวะเลือดออกผิดปกติจาก ภาวะยูรีเมียทำให้การทำงานของ เกร็ดเลือดบกพร่อง
• มีอาการคลื่นไส้อาเจียนตลอดเวลา
การเตรียมทวารหลอดเลือด
สำหรับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ทวารหลอดเลือดชนิดชั่วคราว
(temporary vascular access)
-internal jugular vein
-femoral vein
-subclavian vein สามารถทำหัตถการที่เตียงผู้ป่วยได้ ใช้ งานได้ทันที
ทวารหลอดเลือดชนิดถาวร
(permanent vascular access)
Arteriovenous fistula, AV fistula, AVF
2.การผ่าตัดต่อเส้นเลือดเทียม (arteriovenous graft, AVG)
การพยาบาลก่อนทำ Hemodyalysis
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินความสมดุลของน้ำและสารอิเลคโตรลัยส์
ดูแลการใช้ยาลดการแข็งตัวของเลือด
ประเมินทางด้านจิตสังคม และปัญหาทางระบบประสาท 5. ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาลขณะทำHemodyalysis
วัดสัญญาณชีพทุก 1 – 2 ชั่วโมง
สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง
ดูแลการทำงานของเครื่องไตเทียมอย่างสม่ำเสมอ
พูดคุยให้คำแนะนำ พร้อมทั้งประเมินสภาพจิตใจของ ผู้ป่วยขณะทำ
การพยาบาลหลังทำ Hemodyalysis
สังเกตอาการและอาการเปลี่ยนแปลง บางรายอาจมีการเปลี่ยนแปลง ในระยะท้าย
เมื่อถอดเข็มออกจากหลอดเลือดผู้ป่วย ใช้ผ้าก๊อสสะอาดปราศจากเชื้อ กดบริเวณแผลจนแน่ใจว่าไม่มีเลือดออกแล้วจึงปิดแผล
ชั่งน้ำหนัก วัดสัญญาณชีพ เจาะเลือดหา Hb และตัวอื่น ๆ ที่ จำเป็นก่อนให้ผู้ป่วยกลับบ้าน
ให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวและอธิบายถึงอาการและผลการฟอก เลือดแก่ผู้ป่วย
ภาวะแทรกซ้อนที่พบขณะฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
ในหอผู้ป่วยวิกฤต
Hypoxemia
Bleeding
Hypotension
Electrolyte disturbance
and cardiac arrhythmias
Disequilibrium syndrome
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
1 ด้านการรับประทานอาหารและการควบคุมน้ำดื่ม
2 ด้านการออกกำลังกายและการมาฟอกเลือดตามนัด
3 ด้านการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4 การฝึกการควบคุมปริมาณน้ำดื่ม
การฟอกเลือดชนิดต่อเนื่อง (Continuous renal replacement therapy, CRRT)
ประโยชน์ของการทำ CRRT
การทำ CRRT ขจัดของเสียได้ช้ากว่า intermittent hemodialysis
มีการขจัดน้ำและของเสียออกจากผู้ป่วยอย่างช้าๆและต่อเนื่อง
การพยาบาลผู้ป่วยทำ CRRT
ระยะก่อนการรักษา
2.ระยะให้การรักษา
ระยะสิ้นสุดการรักษา
ภาวะแทรกซ้อนที่พบได้บ่อยจากการทำ CRRT
Disconnection
Air embolism
Thrombosis และ Thromboembosis
ภาวะติดเชื้อ
Bleeding
continuous ambulatory peritoneal dialysis
(CAPD)
การเปลี่ยนถ่ายน้ำยาล้างไตแบบมาตรฐาน (Conventional peritoneal dialysis)
2 การเปลี่ยนถ่ายน้ำยาล้างไตโดยใช้เครื่อง อัตโนมัติ (Automated peritoneal dialysis, APD)
การขจัดของเสียออกทางเยื่อบุช่องท้อง
CAPD
C = Continuous น้ำยาล้างไตจะอยู่ในช่องท้องตลอดเวลา
A = Ambulatory ระหว่างการเปลี่ยนน้ำยาผู้ป่วยสามารถ เคลื่อนไหว อย่างอิสระ และสามารถทำกิจวัตรประจำวันต่างๆได้
P = Peritoneal ใช้ผนังเยื่อบุช่องท้องเป็นตัวกรองของเสีย
D = Dialysis การล้างไตเกิดขึ้นโดยการดึงของเสียและน้ำ
ข้อห้ามในการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
2.ผู้ป่วยที่มีIleostomy, Nephrostomy,Ileal
conduit
ผู้ป่วยที่มีภาวะปวดเรื้อรัง Degenerative disc
disease
มีภาวะที่ขัดขวางการไหลของน้ำยาล้างไต
4.มีการติดเชื้อที่ผิวหนังทางหน้าท้องทางช่องท้อง
5.น้ำหนักตัวในผู้ป่วยที่มีน้ำหนักตัวมากกว่า
100 กิโลกรัม
ผู้ป่วยมีความผิดปกติของลำไส้
ในผู้ป่วยที่มี abdominal prosthesis
ภาวะแทรกซ้อนจากการทำการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง
ภาวะแทรกซ้อนจากการใส่สายล้างไตทางช่องท้อง
ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ
ภาวะติดเชื้อ
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะล้างไตทางช่องท้อง
การเตรียมทางด้านร่างกาย
เตรียมน้ำยาไดอะลัยส์และอุปกรณ์ในการทำ
การเตรียมทางด้านจิตใจโดยอธิบายถึงจุดประสงค์ของการทำและตอบข้อ
ซักถาม
ประเมินการล้างมือของผู้ป่วย
การพยาบาลผู้ป่วยในระยะล้างไตทางช่องท้อง
จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนหงายศีรษะสูง
ยึดหลักเทคนิคปราศจากเชื้อในการเปลี่ยนขวดแต่ละรอบ
3.สังเกตลักษณะของน้ำยาไดอะลัยส์ที่ออกจากช่องที่ออกจากช่องท้องผู้ป่วยทุก ครั้งว่า มีเลือดปน มีเยื่อวุ้น (fibrin) ปนมากับน้ำยาหรือไม่ ถ้ามี ลักษณะดังกล่าว ให้ซักถามอาการปวดท้อง ตรวจดูลักษณะแผล การกดเจ็บ
จดบันทึกเวลาและจำนวนน้ำยาไดอะลัยส์เข้าและออก 5. ชั่งน้ำหนักผู้ป่วยก่อนทำและขณะทำทุกวัน
เจาะเลือดตรวจหา E’ lyte , Urea, Cr ทุก 12 ชั่วโมง 7. วัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลกิจวัตรประจ าวันแก่ผู้ป่วยและทำความสะอาดร่างกาย
สังเกตอาการและอาการแสดงของปัญหา และภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
10.หากน้ำยาไม่ค่อยไหล ให้ค่อยๆขยับเปลี่ยนท่า
บันทึกแล้วรายงานแพทย์
การผ่าตัดปลูกถ่ายไต (Renal transplantation)
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนผ่าตัดปลูกถ่ายไต
เตรียมผู้ป่วยผ่าตัด
เตรียมผู้ป่วย