Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
พยาธิสรรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
บทนำ
ความสำคัญของระบบไหลเวียนเลือด
-เซลล์ของร่างกายจะทำงานอยู่ได้ต้องได้รับออกซิเจน สารอาหาร สิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ระบบไหลเวียนเลือดจะทำหน้าที่นำออกซิเจน สิ่งจำเป็นในการดำรงชีวิตไปเลี้ยงเซลล์ที่เป็นส่วนประกอบต่างๆของร่างกาย
คำศัพท์ที่ควรทราบ
Aneurysm = การป่งพองของผนังหลอดเลือด
3.Atherosclerosis= การแข็งตัวของหลอดเลือดแดง
1.Afterload= แรงต้านการบีบตัวของหัวใจห้องล่างซ้าย
3.Congestion= การคั่งของน้ำหรือเลือดในส่วนต่างๆ
Embolus= ลิ่มเลือด ฟองอากาศ ไขมัน ที่ลอยอยู่ในหลอดเลือด
Infartion= การตายของเนื้อเยื่อจากการขาดออกซิเจน
6.Ischemia= การได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
7.Ortopnea= เหนื่อยนอนราบไม่ได้
Paroxysml nocturnal dyspnea = หายใจลำบากขณะนอนหลับเมื่อนอนราบปกติ
9.Plaque= แผ่นนูนที่เกิดขึ้นบนผิ้วของอวัยวะต่างๆ
Preload= แรงดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เมื่อหัวใจคลายตัวเต็มที่
ส่วนประกอบของหัวใจ
หัวใจประกอบด้วยกล้ามเนื้อพิเศษที่เรียกว่า กล้ามเนื้อหัวใจ ซึ่งมีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม แบ่งออกเป็นห้องบน (ห้องรับเลือด) 2 ห้อง เรียกว่า เอเตรียม ห้องล่าง 2 ห้อง (ห้องสูบฉีดเลือด) เรียกว่า เวนตริเคิล
ห้องรับเลือด เรียกว่า เอเตรียม (Atrium) หรือ ออริเคิล (auricle) ได้แก่
-ห้องบนขวา รับเลือดดำ (มีออกซิเจนต่ำ) จากศีรษะแขนขาทั้งสองข้างและลำตัว
-ห้องบนซ้าย รับเลือดแดง (มีออกซิเจนสูง) จากปอด
ห้องสูบฉีดเลือด เรียกว่า เวนทริเคิล (ventricle) ได้แก่
-ห้องล่างขวา สูบฉีดเลือดดำไปปอด
-ห้องล่างซ้าย สูบฉีดเลือดแดงไปยังส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
ระบบไหลเวียนเลือดประกอบด้วย
หลอดเลือดแดง(artery)
หลอดเลือดดำ(vein)
หัวใจ(heart)
หลอดเลือดฝอย(blood capillary)
การฟังเสียงหัวใจ
การจับชีพจร
คือ การหดตัวและคลายตัวของหลอดเลือดในจังหวะเดียวกับการหดและคลายตัวของหัวใจ
การวัดความดันโลหิต
ความผิดปกติในระบบหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญ
ภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง หมายถึง
ความดันโลหิตตัวบน(Systolic Pressure) สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอท
ความดันโลหิตตัวล่าง( diastolic Pressure) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
ระดับความดัน
ชนิดของความดันโลหิตสูง
Primary hypertension หรือ Essential hypertension เป็นความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ
Secondary hypertension เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุ
พยาธิสรีรภาพ
2.Sympathetic nervous system มี overactivity เพิ่มการหลั่งของสาร adrenaline
3.Renin angiotensin system มีความดันโลหิตชนิดไม่ทราบสาเหตุ
1.Genetic defect มีความผิดปกติของไตเองตั้งแต่กำเนิด ไม่สามารถexcrete sodium และน้ำได้
-การที่ไตถูกทำลาย หรือ หลอดเลือดแดงไปเลี้ยงที่ไตตีบลง จะกระตุ้น renin angiotensin aldosterone System ทำปฏิกิริยาต่อ Renin substrate จากตับ
ความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
ภาวะความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า (Orthostatic or postural hypotension) หรือความดันตกขณะเปลี่ยนท่า หรือความดันโลหิตต่ำขณะลุกยืน เป็นความดันโลหิตต่ำในรูปแบบหนึ่ง ที่เกิดขึ้นเมื่อคุณเปลี่ยนตำแหน่ง จากการนั่งหรือนอนเป็นยืนขึ้น อาการที่ชัดเจนมากที่สุดคือ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ หรือแม้กระทั่งเป็นลม ภาวะความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่ามักมีอาการไม่รุนแรง
อะไรทำให้เกิดความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
ความผิดปกติเกี่ยวกับการย่อยอาหาร
ปัญหาเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ
ภาวะเกี่ยวกับหัวใจ
ความผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาท
อาการความดันโลหิตต่ำจากการเปลี่ยนท่า
อ่อนเพลีย
เป็นลม
การมองเห็นที่ลดลง
มึนงง
รู้สึกปวดศีรษะหรือเวียนศีรษะหลังจากยืนขึ้น
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน กลไกการเกิดมาจากลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดหัวใจที่ตีบแคบอยู่ก่อนแล้ว อย่างไรก็ตามแม้จะไม่มีใครบอกได้ว่าหลอดเลือดจะอุดตันเมื่อใด และกล้ามเนื้อหัวใจจะขาดเลือดตอนไหน แต่เมื่อใดก็ตามที่เกิดลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดหัวใจ
ปัจจัยเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
-อายุ พบผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดในวัยกลางคนขึ้นไปถึงวัยสูงอายุ เพศชายอายุตั้งแต่ 45 ปีขึ้นไป และเพศหญิงอายุตั้งแต่ 55 ปีขึ้นไป
-พันธุกรรม ผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเดียวกันป่วยเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดร่วมด้วย โดยเฉพาะคนในครอบครัวที่เริ่มมีอาการตั้งแต่วัยกลางคนขึ้นไป
-เพศ จากข้อมูลทางสถิติที่ผ่านมา พบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง
อาการกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
หัวใจ เป็นกล้ามเนื้อที่ปั้มเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและปั้มเลือดไปปอดเพื่อฟอกเลือด ในการทำงานของกล้ามเนื้อหัวใจต้องได้รับสารอาหาร และออกซิเจนจากหลอดเลือดโคโรนารี (Coronary Arteries) ซึ่งมีอยู่ 3 เส้น ถ้าหากเส้นใดเส้นหนึ่งเกิดการอุดตันด้วยลิ่มเลือด
-เจ็บครั้งนี้ เกิดขณะพัก
-เจ็บครั้งนี้ อมยาแล้วไม่หายเจ็บ
-เจ็บครั้งนี้ นานกว่า 20 นาที
-เจ็บครั้งนี้ เจ็บมากจนเหงื่อออก เป็นลม หรือหายใจหอบ
-เจ็บครั้งนี้ เจ็บมากกว่าครั้งก่อนๆ
อาการแสดง
อาการที่ชวนสงสัยว่าจะเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ จนกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดก็คือ อาการเจ็บแน่น เหมือนมีของหนักๆมาทับ ที่หน้าอกด้านซ้าย หรือตรงกลางหน้าอก อาการเจ็บอาจร้าวไปที่แขนซ้าย กรามหรือคอด้านซ้าย และมักจะมีอาการขณะออกแรง หยุดพักแล้วดีขึ้น หรืออมยาขยายหลอดเลือดหัวใจแล้วดีขึ้น
ลิ้นหัวใจพิการ
หัวใจพิการ หรือภาวะหัวใจพิการแต่กำเนิด (Congenital Heart Disease) เป็นความผิดปกติเกี่ยวกับโครงสร้างหัวใจที่เป็นได้ตั้งแต่เกิด เด็กที่มีภาวะนี้อาจแสดงอาการตั้งแต่แรกเกิดหรือเพิ่งเริ่มสังเกตเห็นอาการตอนโตขึ้น ซึ่งบางรายอาจมีอาการไม่รุนแรงมากและไม่ต้องรับการรักษา
อาการของหัวใจพิการ
หายใจลำบาก หายใจเร็ว หรือมีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ
มีอาการบวมบริเวณขา ท้อง หรือรอบดวงตา
ริมฝีปาก ผิวหนัง นิ้วมือ และเท้าเป็นสีเทาหรือเขียว
ไม่ค่อยยอมกินอาหาร ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นได้น้อย
สาเหตุของหัวใจพิการ
หัวใจของคนเรามี 4 ห้อง แบ่งเป็นห้องด้านซ้าย 2 ห้องและห้องด้านขวา 2 ห้อง โดยหัวใจห้องขวาทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปที่ปอดเพื่อรับออกซิเจนแล้วนำเลือดและออกซิเจนกลับเข้าสู่หัวใจห้องซ้าย จากนั้นหัวใจห้องซ้ายจึงสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
การวินิจฉัยหัวใจพิการ
การถ่ายภาพหัวใจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI Scan)
การสวนหัวใจและหลอดเลือด
การเอกซเรย์ทรวงอก
การตรวจออกซิเจนในเลือด
การตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การทำงานของหัวใจ
หัวใจห้องขวาบนจะรับเลือดที่ไม่ค่อยมีออกซิเจน แล้วส่งให้ห้องขวาล่างเพื่อส่งต่อไปที่ปอด
หลังจากเลือดได้รับการออกซิเจนแล้ว เลือดจะถูกส่งต่อไปที่หัวใจห้องซ้ายบน
หลังจากนั้น หัวใจห้องซ้ายล่างจะปั๊มเลือดที่มีออกซิเจนส่งไปส่วนอื่นของร่างกาย
ระบบคลื่นหัวใจ
แรงกระตุ้นไฟฟ้าจะเริ่มในหัวใจห้องบน และ เดินทางผ่านทางเฉพาะที่อยู่ระหว่างหัวใจห้องล่างทั้งสองห้อง แล้วไปกระตุ้นให้หัวใจห้องล่างบีบตัว
ระบบนี้ทำให้หัวใจของคุณเต้นเป็นจังหวะ และ ทำให้เลือดไหลได้อย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการสะดุด
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ Electrocardiogram
lectrocardiogram หรือที่เราพูดกันสั้น ๆ หรือได้ยินคุ้นหูกันว่า ECG or EKG เป็นวิธีการตรวจทางหัวใจที่มีต้นกำเนิดมายาวนานที่สุด สามารถตรวจได้ง่ายที่สุดและรวดเร็วที่สุด ด้วยขั้นตอนที่ไม่ยุ่งยาก และสามารถให้คำตอบเบื้องต้นรวมถึงให้การวินิจฉัยแก่ผู้มารับการตรวจ ECG
ภาววะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลวสามารถแบ่งได้หลายชนิด แต่หากใช้การแบ่งตามระยะเวลาที่มีอาการสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
-ภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน (acute heart failure)
-ภาวะหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง ( chronic heart failure)
อาการของภาวะหัวใจล้มเหลว
อาการหายใจเหนื่อย
เป็นอาการสำคัญของภาวะหัวใจล้มเหลว โดยอาจมีอาการเหนื่อยในขณะที่ออกแรง อาการเหนื่อย/หายใจไม่สะดวกในขณะนอนราบ บางครั้งจะมีอาการไอในขณะนอนราบด้วย
อ่อนเพลีย
เกิดจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อต่างๆ ของร่างกายลดลง ทำให้ความสามารถในการทนต่อการทำกิจกรรมหรือความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันต่างๆ
มีอาการบวมจากภาวะคั่งน้ำและเกลือ
เช่น ที่เท้าและขามีลักษณะบวม กดบุ๋ม มีน้ำคั่งในปอดและอวัยวะภายใน เช่น มีตับ ม้ามโต มีน้ำในช่องท้อง
การวินิจฉัยภาวะล้มเหลว
การประเมินภาวะสมดุลของน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อช่วยวินิจฉัยและรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
การซักประวัติผู้ป่วยอย่างละเอียด เช่น ปัจจัยเสี่ยงหรือโรคที่อาจเป็นสาเหตุของภาวะหัวใจล้มเหลว
แนวทางการรักษาภาวะหัวใจล้มเหลว
การใช้เครื่องกระตุกหัวใจอัตโนมัติชนิดฝังในร่างกาย การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจถาวรชนิดที่ทำให้หัวใจห้องล่างซ้ายและขวาบีบตัวพร้อมกัน
การผ่าตัดใส่เครื่องช่วยการสูบฉีดเลือดของหัวใจ
การรักษาด้วยยา เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาลดความดันโลหิต ยาเพิ่มการบีบตัวของหัวใจ ยากลุ่มลดการกระตุ้นระบบนิวโรฮอร์โมน
การผ่าตัดปลูกถ่ายหัวใจ การผ่าตัดลิ้นหัวใจรั่ว
การดูแลตอนเองผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลว
หมั่นออกกำลังกายที่พอเหมาะอย่างสม่ำเสมอ
มาตรวจและพบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงการเดินทางไกลที่ต้องนั่งเป็นระยะเวลานาน