Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อและกระดูก, นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001 - Coggle…
พยาธิสภาพของกล้ามเนื้อและกระดูก
โรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์เป็นโรคข้ออักเสบชนิดหนึ่งที่พบได้บ่อยในเพศชายผู้ป่วยจะมีอาการปวดที่ข้ออย่างฉับพลันรวมถึงมีอาการข้อแข็งและบวมซึ่งมักจะเป็นที่นิ้วหัวแม่เท้าถ้าผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมอาการของโรคเก๊าท์ก็จะทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นและอาจเป็นอันตรายต่อข้อต่อเส้นเอ็นและเนื้อเยื่ออื่นๆได้
สาเหตุของโรคเก๊าท์
เก๊าท์ทุติยภูมิหมายถึงผู้ป่วยที่เป็นโรคประจําตัวอื่นอยู่แล้วหรือกินยาที่ใช้รักษาตัวเป็นเหตุที่ทําให้เกิดภาวะกรดยูริคในเลือดสูงจนเกิดอาการโรคเก๊าท์เช่น
โรคไตวายเรื้อรัง
โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง
โรคหัวใจบางชนิด
เก๊าท์ปฐมภูมิผู้ป่วยกว่าร้อยละ 90 จะอยู่ในกลุ่มนี้โดยส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการที่ไตขับถ่ายกรดยูริคน้อยเกินไปโดยมักเกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์
เกิดจากภาวะกรดยูริก (uric acid) ในเลือดสูงติดต่อกันเป็นเวลานานจนเกิดเป็นผลึกสะสมอยู่ในข้อทําให้เกิดการอักเสบปวดบวมอย่างรุนแรง
อาการของโรคเก๊าท์
อาการที่เด่นชัดของโรคเก๊าท์คือ โพดากร้า (podagral) ซึ่งจะมีอาการอักเสบของข้อที่นิ้วหัวแม่เท้าผู้ป่วยจะรู้สึกปวดรวมถึงสังเกตได้ว่าข้อเท้ามีอาการบวมแดงและร้อนอาการปวดมักจะเริ่มต้นในช่วงกลางคืนผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการปวดเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 1 ชั่วโมง
ระยะที่ไม่มีอาการตรวจพบกรดยูริคในเลือดสูงเท่านั้นซึ่งในเพศชายจะเริ่มมีกรดยูริคสูงตั้งแต่อายุ14-15 ปี หรือเริ่มเป็นหนุ่มในเพศหญิงจะเริ่มสูงหลังจากหมดประจําเดือนแล้ว
โรคเก๊าท์ในระยะเริ่มแรก คือมีอาการปวดแดงอย่างเฉียบพลันโดยในช่วงวันแรกจะเป็นช่วงที่ปวดมากที่สุดและไม่มีอาการเตือนล่วงหน้าจุดที่จะแสดงอาการก่อนส่วนอื่นๆของร่างกาย ได้แก่ นิ้วโป่งเท้าข้อเท้าและข้อเข่าหลังจากเวลาผ่านไปในวันที่สองอาการปวดก็จะเบาบางลงและหายปวดใน 5 - 7 วันหลังเกิดอาการโดยสถิติแล้วพบว่าเพศชายมีโอกาสเป็นโรคเก๊าท์มากกว่าเพศหญิง
โรคกระดูกพรุน
โรคกระดูกที่กระดูกเริ่มเสื่อมและบางลงเนื่องจากสูญเสียแคลเซียมที่สะสมในกระดูกโรคนี้จะไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดนอกจากกระดูกแตกหรือหักพบได้บ่อยบริเวณกระดูกสันหลังสะโพกหรือข้อมือ รวมทั้งยังสามารถเกิดได้กับกระดูกส่วนอื่นๆ ของร่างกายอีกด้วทั้งนี้โรคกระดูกพรุนเป็นสาเหตุสําคัญที่ทําให้เกิดภาวะกระดูกหักหรือกระดูกสันหลังผิดรูปในผู้สูงอายุ
อาการของโรคกระดูกพรุน
เกิดอุบัติเหตุและนําไปสู่ภาวะกระดูกหักอาการบ่งชี้อื่นๆ ที่ควรใส่ใจและหมั่นสังเกตเพื่อให้สามารถรักษาและป้องกันโรคกระดูกพรุน
กระดูกข้อมือ แขน สะโพก และกระดูกสันหลังแตกหักได้ง่ายแม้ถูกกระแทกแบบไม่รุนแรง
หลังค่อมหรือกระดูกสันหลังส่วนบนโค้งลง
ความสูงลดลง
อาจมีอาการปวดหลังเรื้อรังด้วย
สาเหตุของโรคกระดูกพรุน
การสูญเสียฮอร์โมนเพศหญิง เนื่องจากหมดประจําเดือน เป็นสาเหตุที่พบได้บ่อยของการเกิดโรคกระดูกพรุน โดย25% ของสตรีที่มีอายุมากกว่า 60 ปี มักพบว่าเป็นโรคกระดูกพรุน
การที่สตรีหมดประจําเดือนเร็วหรือได้รับการผ่าตัดรังไข่ทิ้งก่อนอายุ 45 ปี
อายุที่มากขึ้น โดยเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี กระดูกจะบางลงทุก 1-3% ทุกปี
วิธีการป้องกันโรคกระดูกพรุน
รับประทานอาหารให้ครบทุกหมู่โดยเฉพาะแคลเซียมและวิตามินดีซึ่งเป็นแรธ่าตุสําคัญในการเสริมสร้างกระดูกให้แข็งแรง
การออกกําลังกายสม่ำเสมอ
การงดสูบบุหรี่
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์รวมถึงสารคาเฟอนีเนื่องจากมีผลในการทําลายกระดูก
ตรวจร่างกายเป็นประจํา โดยเฉพาะเมื่ออายุมากกว่า 50 ปี ควรเข้ารับการตรวจวัด กระดูก เพื่อป้องกันการเสื่อมแต่เนิ่นๆ
ปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดโรคกระดูกพรุน
การใช้ยาสเตียรอยด์
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์หรอืเครื่องดื่มที่มีคาเฟอนีเป็นประจํา
เป็นโรคเรื้อรัง เช่น โรคตับ โรคทางเดินอาหารผิดปกติ
การสูบบุหรี่
คนเอเชียมีโอกาศเสี่ยงเป็นโรคมากกว่าเชื่อชาติอื่น
ภาวะฮอร์โมนไม่สมดุล
การขาดวิตามินดีหรือแคลเซียม
มีประวัติครอบครัวเป็นโรคกระดูกพรุน
การโหมออกกําลังกายหรือการอดอาหาร
สาเหตุของมะเร็งกระดูก
สาเหตุการเกิดมะเร็งกระดูกยังไม่สามารถชี้ชัดได้ทั้งหมดโดยทั่วไปเกิดจากเซลล์ในร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งแล้วค่อยๆเติบโตขึ้นในร่างกายหากโตขึ้นจนถึงจุดหนึ่งอาจมีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ
แม้ว่าเซลล์ในร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นเซลล์มะเร็งหรือยีนจะมีการเปลี่ยนแปลงไปแต่ไม่ได้มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมไปยังบุตรหลานได้
ข้ออักเสบรูมาตอยด์
RHEUMATOID ARTHRITIS
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากกล้ามเนื้อลีบ
ไขสันหลังโดยมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งกล้ามเนื้ออ่อนแรงและลีบเล็กลงเรื่อยๆบริเวณมือ แขน ขา หรือเท้าข้างใดข้างหนึ่งก่อนและจะค่อยๆเป็นมากขึ้นจนลามไปทั้ง 2 ข้างร่วมกับมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งหรือกล้ามเนื้อกระตุก
ต่อมาจะมีอาการพูดลําบากกลืนลําบากหายใจติดขัดและหอบเหนื่อยจากกล้ามเนื้อที่ใช้ในนการหายใจอ่อนแรงจนกระทั้งเสียชีวิต
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือ ALS (Amyotrophic Lateral Sclerosis) คือ จัดเป็นโรคที่พบมากที่สุดในกลุ่มโรคเสื่อมของเซลล์ควบคุมกล้ามเนื้อทั้งในส่วนของสมอง
อาการโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ส่วนใหญ่ร้อยละ 75 จะพบอาการเริ่มแรกที่แขน ขา ข้างใดข้างหนึ่งก่อนร้อยละ 25 ผู้ป่วยที่แสดงอาการครังแรกด้วยการกลืนหรือพูดลําบากส่วนสาเหตุการเกิดโรคที่แท้จรงยิ่งไม่ทราบแน่ชัดแต่พบว่าประมาณร้อยละ 10 ของผู้ป่วยเกิดจากพันธุกรรมโรคดังกล่าวมักพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงส่วนใหญ่เกิดในช่วงอายุ40-60 ปี
วิธีการสังเกตอาการโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ แขน หรือ ขา มีอาการกลืนลําบากเสียงเปลี่ยนร่วมกับอาการกล้ามเนื้อลีบและกล้ามเนื้อเต้นกระตุกโดยอาการอ่อนแรงจะค่อยๆเป็นมากขึ้นเรอื่ยๆเมื่อมีอาการดังกล่าวควรรีบมาพบแพทยเ์พื่อวินิจฉัยรักษาโดยแพทย์อายุรกรรมสาขาประสาทวิทยาที่มีประสบการณ์จะทําการซักประวัติตรวจร่างกายและตรวจทางห้องปฏิบัติการเพิ่มเติมโดยการตรวจเส้นประสาทและกล้ามเนื้อด้วยคลื่นไฟฟ้า
กระดูก
กระดูกยาว (Tubular bone) ทําหน้าที่ในการรับน้ำหนักและการเคลื่อนไหวของร่างกาย
มีองค์ประกอบของ diaphysis ซึ่งเป็นกระดูกที่เจริญเต็มที่ (Mature bone) และ Epiphysis เป็นบริเวณที่มีการสรา้งกระดูกเกิดขึ้นในกระดูกยาวโดยมีEpiphysis plate เป็นรอยต่อระหว่าง diaphysis และ Epiphysis
กระดูกแบน (Flat bone) ทําหน้าที่ป้องกันอวัยวะสําคัญที่อยู่ภายใน
จะไม่มี
Epiphysis plate
ช่วยในการคงรูปร่างของร่างกายเป็นแหล่งสะสมแคลเซี่ยมของร่างกายเป็นที่ยึดเกาะของเส้นเอ็นและกล้ามเนื้ออกป้องอวัยวะที่สําคัญภายในร่างกายได้แก่สมองหัวใจปอด
เยื่อหุ้มกระดูก periosteum
เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่ห่อหุ้มรอบกระดูกและ endosteum ซึ่งอยู่ ส่วนในของกระดูกจะทําหน้าที่เชื่อมต่อกระดูกเมื่อมีกระดูกหัก
เป็นเนื้อเยื่อที่มีความแตกตางกันแต่มีการทํางานเกี่ยวข้องประสานกัน
ฮอร์โมนที่มีส่วนในการกระตุ้นการทําลายกระดูก
ได้แก่ parathyroid H. Interluekin 1, Interluekin 6, Tumor necrosis factor-beta (มีosteoblast เป็นตัวรบัแล้วส่งให้Osteoclast)
เซลล์ที่เป็นส่วนประกอบของกระดูก
Osteoblast
Osteocytes
Osteoprogenator cells
Osteoclast
การเปลี่ยนแปลงของกระดูกและการควบคุม
กระดูกเป็นแหล่งสะสมแคลเซียมของร่างกาย
Calcium ใน plasma ลดลง
Osteoarthritis (OA)
ลักษณะที่เป็นคือ การเสื่อมสภาพของกระดูกอ่อนผิวข้อทําให้สูญเสียการเคลื่อนไหวปวดเรื้อรังโดยไม่ทราบสาเหตุ
เกิดบริเวณข้อที่รับน้ำหนักมาก ได้แก่ ข้อสะโพก ข้อเข่าและข้อที่ใช้งานมากได้แก่ กระดูกสันหลังบริเวณต้นคอ เอว ข้อนิ้วมือ
ชื่ออื่นๆที่เรียกกัน hypertrophic arthritis, osteoarthrosis หรือ senescent arthritis
พบในเพศหญิงมากกว่า เพศชาย พบในคนที่มีอายุระหว่าง 50-70 ปี ส่วนมากพบในคนที่อายุ 65 ปี ขึ้นไป
โรคข้อเสื่อมหรือ degenerative joint disease (DJD) รู้จักกันกว้างขวางในชื่อ osteoarthritis (OA)
X-ray จะพบว่า มีการเปลี่ยนแปลงที่กระดูกอ่อนผิวข้อ
โรคที่เกิดจากการได้รับสารอาหารหรือเกลือแร่ผิดปกติ
Rickets หมายถึง ความผิดปกติของการเจรญิเติบโตของกระดูกทำให้กระดูกผิดรูปแต่ถ้าเกิดในผู้ใหญ่เรียก Osteomalacia
เกิดขึ้นในระหว่างกระบวนการ remodelling จะไม่มีการสะสมของสารอินนทรีย์ในกระดูกทําให้เนื้อกระดูกลดลง (Osteopenia) และหักง่าย
สาเหตุของโรคคือขาดวิตามิน D ขาดฟอสเฟตขาด Alkaline phosphatase และอื่นๆอีกหลายตัว
อาการเด่นๆทางคลินิก คือ ปวดกระดูกเดินเหมือนเป็ดมีลักษณะ psuedofracture (ภาพเหมือนกระดูกหักแต่ไม่ใช่)่ เด็กที่เป็น Rickets จะมีขาโก่งกระดูกอ่อนที่ต่อกับกระดูกซี่โครงจะขยายใหญ่
พยาธิสภาพของกระดูก
เป็นความผิดปกติที่เกิดขึ้นแล้วส่งผลทําให้ระบบกระดูกทําหน้าที่บกพร่อง
สาเหตุการเกิดพยาธิสภาพของกระดูก
ความผิดปกติขององค์ประกอบอื่นที่สัมพันธ์กันได้แก่กล้ามเนื้อข้อต่อเส้นเอ็นระบบประสาท
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
การติดเชื่อ
ไม่ใช่การติดเชื่อ
ได้รับแรงกระแทกแตกหัก
ความเสื่อมตามวัย
ความเสื่อมจากพฤติกรรม
หน้าที่ของกระดูก
เป็นแหล่งสะสมของ CALCIUM
ช่วยการเคลื่อนไหว
สร้างเม็ดเลือด
ปกป้องอวัยวะที่สําคัญภายในร่างกาย
เป็นที่ยึดเกาะของเส้นเอ็นกล้ามเนื้อ
ความผิดปกติทางพันธุกรรม
กรณีเป็น autosomal dominant จะตรวจพบตอนเป็นวัยรุ่นหรือวัยผู้ใหญ่ซึ่งจะพบกระดูกหักหลายตําแหน่งซีดมีความผิดปกติของ cranial nerve
ลักษณะกระดูกของผู้ป่วย Osteopetrosis จะเป็นกระดูกที่ไม่มีช่องไขกระดูกและผิดรูปร่าง • เริ่มเกิดโรคได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์เป็น autosomal recessive (อาการรุนแรง) ซึ่งส่วนใหญ่เด็กจะเสียชีวิตทันทีหลังคลอดเนื่องจากน้ำคั่งในช่องสมอง (Hydrocephalus) แต่ถ้าไม่เสียชีวิตมักจะมีปัญหากับ cranial nerve ก็จะพบว่ามีปัญหาการมองเห็นใบหน้าเป็นอัมพาตหูหนวก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการจะพบ alkaline phosphatase ในซีรัมสูง
เอ็กเรย์มักจะพบกระดูกเป็น mosaic pattern ของ lamellar bone คือ มีลักษณะเป็นรูปต่อ (Jigsaw puzzle)
Osteopetrosis หรือเรียกว่า Marble bone disease หรือ Albers Schonberg disease carbonic anhydrase II ของ osteoclast และเซลล์ท่อไต (Renal tubular cells) ในการขับ hydrogen ions carbonic anhydrase II ทําให้osteoclast ไม่สามารถย่อยสลายและดูดซึม metrix ของกระดูกได้
อาการเด่นๆทางคลินิกคือปวดกระดูกอาจมีสาเหตุมาจากการเจริญของกระดูกมากไปจนไปกดทับเส้นประสาท spinal and cranial nerve roots
นายพลกฤษ สีดาห้าว UDA6380001