Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Common ocular problems Ocular trauma & emergency for Nurse - Coggle…
Common ocular problems Ocular trauma & emergency for Nurse
History taking
•อาการนำ ระยะเวลาที่เป็น
•ประวัติอดีต
•ประวัติการผ่าตัด เลเซอร์
•การรักษากับจักษุแพทย์
•ประวัติโรคประจำตัว และการใช้ยา
การตรวจด้วยไฟฉาย
• ตรวจการตอบสนองของม่านตาต่อแสงไฟ
• ตรวจส่วนหน้าของลูกตา
ต้อลม (Pinguecula)
จึงมักพบที่บริเวณหัวตาและหางตา (exposure area)
ขนาดของต้อลมไม่ได้มีผลต่อการมองเห็น เมื่อมีขนาดโตขึ้นจะทำให้เกิดการระคายเคืองได้ง่าย
ปัจจัยเสี่ยง
เกิดจากต้องสัมผัสรังสี UV ในแสงแดด,ลม,ฝุ่นบ่อยๆฝ
อาการและอาการแสดง
–เนื้อเยื่อสีเหลืองๆ นูนๆ ข้างตาดำ
–ระคายเคืองและคัน แต่ส่วนใหญ่จะไม่มีอาการแสดงให้เห็น
–ทำให้ตาแห้ง
–เยื่อบุตาอักเสบในบางครั้ง
–จะมีสีแดงเมื่อมีการอักเสบ
เป็นภาวะเสื่อมหรือ degeneration ของเยื่อบุตาขาว
ต้อเนื้อ (Pterygium)
บางรายมีการอักเสบมากจะมีลักษณะแดงตลอดเวลา
อาการและอาการแสดง
–เนื้อเยื่อสีน้ำตาล, แดง(อักเสบ) หรือขาว(ไม่อักเสบ)
–เคืองตา ตาแดง น้ำตาไหล
–ตาแห้ง
– ส่วนใหญ่ (>90%) จะพบทางหัวตา
–ทำให้มองเห็นมัวลง มาบังตาดำ, ทำให้ผิวกระจกตาขรุขระ
ไม่ได้เป็นเนื้อร้าย
การรักษา
• หลีกเลี่ยงลม, แดด (UV light), ฝุ่น, ควัน
• สวมแว่นตากันแดด ลม
• ยาหยอดตา artificial tears , topical vasoconstrictor + antihistamine (Hista-oph ED, Spersallerg ED, Opsil-A ED)
• การผ่าตัด excision (if > 3 mm, medication failure, cosmetic)
ต้อเนื้อเป็นเนื้อเยื่อสามเหลี่ยม ที่เกิดคล้ายกับต้อลม แต่จะลามมาที่กระจกตา หรือตาดำ
ต้อกระจก (Cataract)
• ต้อกระจกเป็นการขุ่นของเลนส์แก้วตา
• เป็นสาเหตุอันดับแรกที่ทำให้สูญเสียการมองเห็น
• ส่วนใหญ่เป็นตามวัย โดนส่วนใหญ่พบในอายุ >50 ปี
สาเหตุ
–ตามอายุ เช่น ตั้งแต่กำเนิด หรือสูงวัย
–อุบัติเหตุ
–ยา เช่น steroid
–โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน
– สิ่งแวดล้อม เช่นแสงแดด(UV light)
อาการ
–เลนส์แก้วตามีหน้าที่โฟกัสภาพให้ไปตกที่จอประสาทตา แต่เมื่อเลนส์ขุ่นก็ทำให้ภาพที่ไปตกที่จอประสาทตานั้นมัวลง
–ตามัวลงช้าๆโดยเฉพาะเวลามองแสงสว่าง
–ลักษณะมัวเหมือนมีหมอกหรือฝ้าขาวบัง
–มักไม่มีอาการปวดตา
ตรวจดูด้วยไฟฉาย
–เห็นเลนส์บริเวณกลางรูม่านตาขุ่นขาว
–การตอบสนองของรูม่านตาปกติแม้ว่าเลนส์จะขุ่นมาก
การรักษา
• ใส่แว่นตาเพื่อให้การมองเห็นชัดเจนขึ้น
• การรักษาโดยการใช้ยา
• การรักษาโดยการผ่าตัด
ต้อหิน (Glaucoma)
การประเมินความเสี่ยงโรคต้อหิน
• ท่านอายุมากกว่า 40 ปี ใช่หรือไม่
• ท่านมีโรคประจำตัวหรือไม่
• ท่านมีความดันตาสูงใช่หรือไม่
• ท่านมีประวัติโรคต้อหินในครอบครัวหรือไม่
• ท่านมีเชื้อชาติเอเชียหรือไม่
• ท่านเคยได้รับอุบัติเหตุทางตามาก่อนหรือไม่
• ท่านมีเชื้อชาติแอฟริกันหรือไม่
การรักษา
ยา
เลเซอร์
การผ่าตัด
ประเภทของต้อหิน
• ต้อหินชนิดมุมปิด
• ต้อหินชนิดมุมเปิด
สาเหตุ
• ความดันตาที่สูงกว่าปกติ
• ค่าทั่วไปของความดันตาควรต่ำกว่า 20 มิลลิเมตรปรอท
• ความดันตาที่สูง -> อัดแน่นในตา -> ตาแข็งดั่งหิน
กลุ่มโรคของตา “ทำลายเส้นประสาทตา” แบบ “ ถาวร ”
RED EYE
สาเหตุ
•เยื่อบุตาอักเสบ (conjunctivitis)
•กระจกตาอักเสบเป็นแผล (corneal ulcer)
• ม่านตาอักเสบ (anterior uveitis)
• ต้อหินเฉียบพลัน (acute glaucoma)
•อุบัติเหตุ (Trauma)
Ocular trauma
เปลือกตาบวมช้ำ (Eyelid contusion)
– เปลือกตาบวมช้ำ
– อาจมีกระดูกเบ้าตาแตกร่วมด้วย
– อาจมีภยันตรายต่อดวงตาร่วมด้วย
– รักษาตามอาการ หากลูกตาปกติ
เลือดออกใต้เยื่อบุตา (Subconjunctival Hemorrhage)
• Spontaneous
• Trauma
• Post-op
• Valsalva maneuver
• Hemotologic diseased
• Infection เช่น typhus
การพยาบาล
• ประเมินการมองเห็น
• แนะนำมิให้ขยี้ตา
• ประคบเย็น / ร้อน
• รับประทานอาหารที่มีวิตามินซี
• ระยะเวลาในการหาย ~ 1 อาทิตย์
• แนะนำใส่แว่นกันแดด
อุบัติเหตุ(Injury) – open globe
สิ่งที่บ่งบอกว่ามีลูกตาแตก
ตามัวลงกว่าเดิมมาก
เยื่อบุตาบวมช้ำมีเลือดออกใต้เยื่อบุตามาก
ช่องลูกตาด้านหน้า ตื้นมากหรือไม่มีเลย
รูม่านตาผิดปกติทั้งขนาด รูปร่าง และตำแหน่ง
กลอกตาไม่ได้
ความดันตาต่ำ(ตานิ่ม)
เลือดออกในช่องลูกตาด้านหน้าที่มีความดันตาปกติหรือต่ำ
เลือดออกในช่องลูกตาด้านหน้า (Traumatic hyphema)
การดูแลรักษา
กระจกตาถลอก (CORNEAL ABRASION)
อาการ
• เจ็บตา ระคายเคืองตามากจนลืมตาไม่ขึ้น
• น้ำตาไหล
• แพ้แสงมาก
คือภาวะที่ชั้น Epithelium ของกระจกตาหลุดจากหลายสาเหตุ
CHEMICAL BURN
การรักษา
-ล้างตามากที่สุดเท่าที่ทำได้ทันที
-PH test ล้างจนเป็นกลางถ้าทำได้
-ส่งต่อ
อาการ
เคืองตา ตาแดง ปวดแสบปวดร้อน มองเห็นลดลง ตาสู้แสงไม่ได้
GLUE(กาวตราช้าง)
•ตัดขนตา(ถ้ามี ) กาวติด)
•Irrigation
•Lubrication
•Topical ATB
กุ้งยิง(Hordeolum)
• การรักษา oral antibiotics, topical antibiotics
• Warm compression
• Incision & curettage (I&C)
เบาหวานขึ้นตา (Diabetic retinopathy)
• อายุ < 30 ปี เป็นเบาหวานมา 5 ปี ค่อยตรวจตา
• อายุ > 30 ปี เป็นเบาหวานต้องตรวจตาอย่างน้อยปี ละ1 ครั้ง นับ ตั้งแต่ทราบว่าเป็นเบาหวาน