Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบเลือด - Coggle Diagram
พยาธิสรีรวิทยาระบบเลือด
หน้าที่ของระบบเลือด
- การขนส่ง (Transportation) การขนส่งสารอาหาร
2.1 ควบคุมความเป็นกรด-เบสของร่างกาย (Regulation of body pH) ขบวนการ เมแทบอลิซึมและปฎิกิรยิ าทางชีวเคมีต่างๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกาย รวมทั้งการเผาผลาญอาหารหรือผล จากการได้รับยาหรือสารเคมีต่างๆ เข้าไป จะมีผลทาให้ความเป็นกรด-เบส ของร่างกายเปลี่ยนแปลง
2.2 ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย (Regulation of body temperature) เลือดควบคุม อุณหภูมิหรือความร้อนภายในร่างกายโดยการกระจายความร้อนและการขับเหงื่อ
2.3 การควบคุมน้าในร่างกาย (Regulation of water balance) เลือดทาหน้าที่ รักษาสมดุลของของเหลวในกระแสเลือดกับของเหลวในเนื้อเยื่อโดยการแลกเปลี่ยนของน้ำ
3.1 การป้องกันการสูญเสียเลือด (Protection of blood loss) เมื่อเกิด บาดแผลขึ้นกับ ร่างกายไม่ว่าจะเป็นที่ผิวหนังหรืออวัยวะภายในของร่างกาย เลือดจะมีกลไกการห้ามเลือด โดย อาศัยปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดรวมถึงเกล็ดเลือด ช่วยให้เกิดการอุดปิดบาดแผล
3.2 การป้องกันสิ่งแปลกปลอม (Protection of foreign body) เลือดป้องกันสิ่งแปลกปลอม เช่น เชื้อโรค ตลอดจนสารพิษที่เขา้ สู่รา่ งกาย โดยอาศัยกลไกการทางานของ เม็ดเลือดขาว เกล็ดเลือด และแอนติบอดี (antibodies) ที่ไหลเวียนในกระแสเลือด ลักษณะทางกายภาพ ของเลือด (Physical characleristics of blood)
-
-
-
-
-
องค์ประกอบของเลือด
ส่วนที่เป็นน้าเลือด เป็นของเหลวที่เป็นตัวกลาง ให้เม็ดเลือดแขวนตัวลอยอยู่ คิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของเลือด มีลักษณะ เป็นของเหลวสีเหลืองใส ซึ่งมีสารต่างๆ ละลาย อยู่ได้แก่ โปรตีนชนิดต่างๆ รวมถึงปัจจัยในการ แข็งตัวของเลือด คารโบไฮเดรต ไขมัน วิตามิน เกลือแร่ต่างๆ (อิเล็กโทรไลต)์ ฮอร์โมนและสาร อื่นๆ
-
อัลบูมนิ และโกลบูลิน เป็นตัวสาคัญที่เกี่ยวข้องกับความดันออสโมติก (colloid osmotic
pressure) ในการรักษาสมดุลของน้าในร่างกาย
โกลบูลินซึ่งมีอยู่ในรูปของ แอลฟา (α) บีตา (β) และแกมมา (γ) เกี่ยวข้องกับการสร้าง แอนติบอดี ฮอร์โมน และเอ็นไซมช์ นิดต่างๆ
ไฟบรโินเจนช่วยในการแขง็ตัวของเลือดโปรตีนทั้งหมดในพลาสมาทาหน้าที่เปน็บัฟเฟอร์ ช่วยควบคุมระดับความเป็น กรด-เบส และทาให้เกิดความหนืดของเลือด ความเข้มข้นของ โปรตีนเหล่านี้ได้แสดงไว้ในตาราง
ชนิดและปริมาณโปรตีนในพลาสมา
- เม็ดเลือด (Corpuscles หรือ formed elements)
เซลล์เม็ดเลือดมีหลายชนิด ส่วนที่เป็นเม็ดเลือด (Corpuscles หรือ formed elements) คือ ส่วนที่เป็นตัวเซลล์แขวนลอยไหลเวียนในหลอดเลือดทั่วร่างกาย คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 45 เปอร์เซ็นต์ของ เลือด โดยแบ่งเป็นชนิดใหญ่ ๆ ดังนี้ ได้แก่
2.1 เม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดแดง (Erythrocyte , red blood cell)
ภายในเม็ดเลือดห่อหุ้ม สารละลายต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่ คือ
-
เพื่อทาหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนและคารบ์อนไดออกไซด์ระหว่างปอด และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และทาหน้าที่เป็นบัฟเฟอร์ที่ปรับความ สมดุลของกรดและเบส (acid - base buffer) ของเลือด
-
2.2 เม็ดเลือดขาว
1)เม็ดเลือดขาวสามารถเคลอื่นที่ผ่านผนังหลอดเลอืดฝอยสู่เนื้อเยื่อไปยังบริเวณที่มีเชื้อโรค (Diapedesis)
2)เม็ดเลือดขาวสามารถเคลอื่นเขา้ไปหาเชอื้โรคโดยการดึงดูดของสารเคมีที่ถูกปล่อย จากเชื้อโรค เช่น แบคทีเรีย (Chemotaxis)
3)เม็ดเลือดขาวสามารถจับกินสงิ่แปลกปลอมโดยวิธีคล้ายอะมีบาเข้าโอบล้อมและย่อย เชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมนั้น (Phagocytosis)
-
-
-
ความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง
Anemia เป็นสภาวะที่เลือดมีปริมาณฮีโมโกลบิน หรือมมีค่าปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่นต่ากว่า ปกติซึ่งเกิดได้จากสาเหตุต่างๆ เช่น
-
-
ไขกระดูกผิดปกติ (aplastic bone marrow) หรือผนังเม็ดเลือดแดงเปราะแตกง่าย ทาให้มีผลต่อขนาด เซลล์และปริมาณฮีโมโกลบินในเซลล์แตกต่างกันไป
จึงมักใช้ค่าทั้งสองนี้เป็นดัชนีจาแนกชนิดของ anemia ชนิดของ anemia แบ่งได้หลายชนิด ตามขนาดและปริมาณฮีโมโกลบินในเซลล์เม็ดเลือดแดง
- Normocytic normochromic anemia
ขนาดเซลล์ และความเข้มข้นฮีโมโกลบินในเซลล์ปกติ แต่
จานวนเม็ดเลือดแดงในเลือดต่า เช่น กรณี acute hemorrhage
- Microcytic hypochromic anemia
(iron deficiency anemia)
เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็ก ปริมาณฮีโมโกลบินต่า พบในกรณี chronic hemorrhage หรือทารกที่ ขาดธาตุเหล็กในอาหาร
- Macrocytic hypochromic anemia (pernicious หรือ mononuclear anemia) เซลล์มี ขนาดใหญ่ ปริมาณฮีโมโกลบินมาก แต่ จานวนเซลลน์ ้อย เกิดจากการขาด antianemia (หรือ hemotinic) factor ซึ่งประกอบด้วย
extrinsi c factor ได้แก่ vi tamin B 1 2 , และ intr insi c factor ได้แก่ นำย่อยของกระเพาะ อาหาร (gastic juice) antianemic factor ที่เกิดขึ้นจะถูกดูดซึมผ่านลาไส้เข้าสู่กระแสเลือด แล้วถูกเก็บไว้ที่ตับ ถ้าขาด extrinsic หรือ intrinsic factor ตัวใดตัวหนึ่ง หรือ ลาไส้ดูดซึม น้อยลงหรือตับผิดปกติจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของเซลลเ์ม็ดเลือดแดงทาให้ขนาดเซลล์ และปริมาณฮีโมโกลบินของเซลล์เปลี่ยนไป
- Aplastic anemia เกดิจากbonemarrow ผดิปกตอิาจจะเกดิขนึ้เองหรือ
ได้รับรังสีมากเกนิไป
-
: หมู่เลือดระบบ ABO
จัดเป็นหมู่เลือดทสี่ าคัญที่สุดในการให้เลือด เป็นหมู่เลือดระบบแรกที่มีการตั้งชื่อไว้ โดยอาศัยโปรตีนที่ทาหน้าที่เป็นแอนติเจน (antigen, Ag) บนผิวของเม็ดเลือดแดง ที่มีชื่อว่า Ag-A และ Ag-B สามารถแบ่งได้เป็นหมู่เลือดชนิดย่อย คือ หมู่เลือด กลุ่ม A B O และ AB สามารถตรวจสอบหมู่เลือดโดยอาศัยปฏิกิริยาทางวิทยา ภูมิคุ้มกัน ระหว่าง แอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดง และแอนติบอดีในน้าเลือด ที่จาเพาะต่อกัน เกิดปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม (agglutination) ของเม็ดเลือดแดง ทาใหส้ ามารถทดสอบได้ว่าเลือดของคน มีหมู่เลือดอยู่ในกลุ่มใด:
-
หมู่เลือดระบบ Rh
ค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คือ Landsteiner และ Wiener ซึ่งไดท้ าการฉีดเม็ด เลือดแดงของลิงรซี สั (Rhesus) เข้าไปในกระต่าย ซีรั่มของกระต่ายสามารถทาปฏิกิริยากับเม็ด เลือดแดงของคนผิวขาวได้
จากการศึกษาต่อมาพบว่าหมูมีแอนติเจนที่สาคัญ คือ แอนติเจน D C E C และ e จัดเป็น หมู่เลือดที่มีความสาคัญมาก ในคนผิวขาว ในคนไทยพบว่า 99.9 เปอร์เซ็นต์ มีหมู่เลือด Rh+ จากการที่ผู้ที่มีหมู่เลือด Rh จะไม่มีแอนติบอดี ต่อ แอนติเจนของหมู่เลือด Rh จึงเป็นสาเหตุสาคญั ของโรคเม็ดเลือดแดงสลายในเด็กแรกเกิด (hemolytic disease of the newborn) มักพบใน ลูกคนที่สองของเแม่ที่มีหมูเลือดRh-และได้รับการกระตุ้นให้สรา้งแอนติบอดี(immune antibody) จากลูกคนแรกที่มีหมูเลือด เป็น Rh+
เมื่อเลือดของแม่ที่มีแอนติบอดีนี้ผ่านรกไปยังลูกที่อยู่ในครรภ์ซึ่งมีแอนติเจนที่จาเพาะ กันจึงก่อให้เกิดการสลายเม็ดเลือดแดงของลูก ทาให้เกิดการเสยี ชีวิตของทารกแรกเกิด
-