Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคระบบ ทางเดินอาหารและการ ขับถ่าย - Coggle Diagram
การวินิจฉัยแยกโรคระบบ ทางเดินอาหารและการ ขับถ่าย
ปวดท้อง (Abdominal pain)
การซักประวัติ (history taking)
ตำแหน่งที่ปวด (site of pain)
อาการปวดที่เริ่มปวด (onset In Nature of pain)
progression of pain
Character of pain
Aggravates or Relives of pain
Associated symptomp
Past History
Four quadrants system
-ท้องส่วนซ้ายบน (left upper quadrant : LUQ)
-ท้องส่วนซ้ายล่าง (left lower quadrant : LLQ)
-ท้องส่วนขวาบน (right upper quadrant : RUQ)
-ท้องส่วนขวาล่าง (right lower quadrant : RLQ)
ระยะเวลาที่ปวดท้อง(onset)
เรื้อรัง (Chronic)
เฉียบพลัน (Acute)
การดูแลรักษา
• ตรวจร่างกาย (Physical Examination)
• ซักประวัติ (Present illness & Pass history)
Left upper quadrant : LUQ
-ตับ(liver left lobe )
-กระเพาะอาหาร (stomach)
-ม้าม (Spleen)
-ตับอ่อน (body & Tail of pancreases)
-Splenic flexure of colon
-ไตข้างซ้าย (Lt. Kidney)
Right upper quadrant : RUQ
-ตับ (liver)
-pylorus
-duodenum
-ถุงน้ำดี (gallbladder)
-Hepatic flexure of colon
-ไตข้างขวา (Rt. Kidney)
Definition
acute or chronic, localized or diffuse
pain in the abdominal cavity
right lower quadrant : RLQ
-ไส้ติ่ง(Appendix)
-cecum
-ลำไส้ใหญ่(ascending colon)
-ลำไส้เล็ก(small intestine)
-รังไข่และท่อนำไข่(Rt. ovary and tube)
-ท่อไต (Lt. ureter)
คลื่นไส้อาเจียน (Nausea & vomiting)
ความหมาย
อาการคลื่นไส้และอาเจียนเกิดจากกลไกเดียวกัน เมื่อยังอาการ น้อยจะมีแค่คลื่นไส้ เมื่อเป็นมากขึ้นจึงมีอาเจียนตามมา ในทางการแพทย์ จึงถือเสมือนเป็นอาการเดียวกัน
กลไก
Chemoreceptor trigger zone
Vestibular apparatus
Peripheral pathway
Cortex และ Limbic system
สาเหตุ
Cortex และ Limbic system
-Obstruction : gut obstruction
-Infection : gastroenteritis (viral, bacteria toxin)
-Inflammation : acute gastritis, acute pancreatitis, acute cholecystitis, acute appendicitis, hepatitis -Impair motor function : GERD, dyspepsia
การรักษา
-Serotonin antagonist : Ondansetron, Granisetron
-Metoclopramide (plasil)
-Domperidone (motilium)
-Haloperidol
-ยากลุ่มอื่นๆ : Steroids, Benzodiazipine
ท้องผูก (Constipation)
เกณฑ์การวนิจฉัย
a)ต้องมีการเบ่งอุจจาระ 25% ระหว่างการถ่ายอุจจาระ
b) อุจจาระเป็นก้อนหรือแข็งอย่าง 25% ของการถ่ายอุจจาระ
c) มีความรู้สึกว่าถ่ายอุจจาระไม่สุด อย่างน้อย 25% ของการถ่ายอุจจาระ
d) มีความรู้สึกว่าถ่ายอุจจาระไม่ออกเหมือนมีอะไรมาอุดกั้นที่ทวารหนัก อย่างน้อย 25% ของ การถ่ายอุจจาระ
e) ต้องมีการช่วยในการถ่ายอุจจาระอย่างน้อย 25% ของการถ่ายอุจจาระ (เช่น การใช้นิ้วช่วย, support of the pelvic floor)
f) ถ่ายอุจจาระน้อยกว่า 3 ครั้ง/สัปดาห์
สาเหตุ
-โรคของลำไส้ใหญ่ เช่น Colon carcinoma, anal fissure, diverticulitis
-Systemic disease เช่น hypokalemia, hypercalcemia, hyperparathyroidism, hypothyroidism,
hyperthyroidism
-โรคทางระบบประสาท เช่น autonomic dysfunction(DM), sacral tumor
-จากยา เช่น opiate, NSAIDs, amitryp
-Irritable bowel syndrome
การซักประวัติ
-นิสัยในการถ่ายอุจจาระ
-จำนวนครั้งที่ถ่ายต่อสัปดาห์
-ลักษณะของอุจจาระ
-การใช้ยาระบาย
ความหมาย
อาการท้องผูกเป็นอาการที่สามารถพบได้บ่อยใน ประชากรทั่วไป มีอาการถ่ายลำบากเรื้อรัง นานๆถ่ายครั้ง หรือ ถ่ายแต่ รู้สึกไม่สุด ฯลฯ ซึ่งเป็นภาวะที่พบได้บ่อยมากในกลุ่ม ผู้สูงอายุ และพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
อาการอันตราย
ที่ต้องพบแพทย์โดยด่วน
ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด
น้ำหนักลด
ท้องเสียติดต่อกันเป็นเวลานาน
ท้องเสียสลับกับท้องผูก
ซีด
ไข้
ท้องเดิน (Diarrhea)
ความหมาย
ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระเหลว จำนวน 3 ครั้งต่อวัน หรือมากกว่า หรือถ่าย มีมูกหรือปนเลือดอย่างน้อย 1ครั้งหรือ ถ่ายเป็นน้ำจำนวนมากกว่า 1 ครั้งขึ้นไปใน 1วัน
การแบ่งกลุ่มจำแนก
อุจจาระร่วงยืดเยื้อ (Persistant diarrhoea) : มีอาการแสดงถ่ายผิดปกตินานเกิน 2 สัปดาห์
อุจจาระร่วงเรื้อรัง (Chronic diarrhoea) : มีอาการแสดงถ่ายผิดปกตินานเกิน 3 สัปดาห์
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute diarrhoea) : มีอาการแสดงถ่ายผิดปกติหลายชั่วโมงหลายวันแต่มักจะหายภายใน 7 วัน
ข้อบ่งชี้ในการ investigation
-อายุ > 65 ปี หรือ immunocompromised
-มี systemic symptoms โดยเฉพาะในคนท้อง
-มีประวัตินอน ร.พ.หรือใช้ ATB
-ไข้ > 38.5 ๐ c
-ถ่ายเป็นน้ำมากๆ จนมีภาวะขาดน้ำ
-ถ่ายเป็นมูกเลือด
-ถ่ายบ่อย > 6 ครั้ง ใน 24 ชั่วโมง
-ถ่ายนาน > 48 ชั่วโมง
-ปวดท้องรุนแรง