Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มี ภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ - Coggle…
การพยาบาลแบบองค์รวมในทารกแรกเกิดที่มี ภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
อัมพาตที่แขน (Brachial plexus palsy)
การรักษา
• ให้เริ่มทํา passive movement เมื่อเส้นประสาทยุบบวม
• โดยทั่วไปจะรอจนกว่า ทารกอายุ 7 – 10 วัน
• ให้แขนอยู่นิ่ง (partial immobilization)
สาเหตุ
การทําคลอดไหล่ที่รุนแรง
การทําคลอดท่าศีรษะผิดวิธี เช่น ทําคลอดโดยการเหยียดศีรษะ และคอของทารกอย่างรุนแรง
การทําคลอดแขนให้อยู่เหนือ ศีรษะในรายทารกใช้ก้นเป็นส่วนนํา
Erb – Duchenne paralysis
Klumpke’ s paralysis
Combined หรือ Total brachial plexus injury
การกําซาบของเนื่อเยื่อบกพร่อง : สมองเนื่องจากสมองได้รับเลือด และออกซิเจนไปเลี'ยงน้อยลง เนื่องจากร่างกายมีภาวะขาด ออกซิเจน แรงดันภายในสมอง เพิ่มมากขึ'นเนื่องจากมีเลือด ออกในสมอง
กิจกรรมการพยาบาล
1.จำแนกความเสี่ยงของทารกการเตรียมบุคลากร และเครื่องมือ
2.แรกคลอดประเมินลักษณะการหายใจอัตราการเต้นของหัวใจ สีผิว และช่วยเหลือกู้ชีพทารกตามอาการ
3.ประเมินและจดบันทึกคะแนน แอปการ์และค่าแก๊สในเลือดที่สายสะดือทารก
4.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน ตามแผนการรักษา
5.บันทึกค่า SaO2 , TCO2 และ ABGs
6.จัดท่าให้ทารกนอนศีรษะสูง ลำคอตรง
ดูดมูกในทางเดินหายใจ เฉพาะเมื่อจำเป็น และให้ออกซิเจน ทุกครั้งก่อนและหลังทำ
6.กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture clavicle)
การตรวจร่างกาย
โดยการทําให้ทารกผวาตกใจ จะพบว่าทารกไม่มีเคลื่อนไหว แขนข้างที่หัก ทารกมีการเคลื่อน ของกระดูกข้อสะโพกหรือไม่นั้นทํา โดยวิธี Ortolani maneuver คือ วางหัวแม่มือให้อยู่บริเวณต้นขาด้านใน อีกสี่นิ้วอยู่ด้านนอกจับเข่าทารก งอแล้วกางขาออกถ้าได้ยินเสียง “click” และรู้สึกว่ามีแรงต้านต่อการกาง ขาออกแสดงว่ามีการเคลื่อนของกระดูก ข้อ สะโพก
• กระดูกไหปลาร้าหัก
• กระดูกต้นแขนหัก
• กระดูกต้นขาหัก
การรักษา
อยู่นิ่งอย่างน้อย2 – 4 สัปดาห์
• กระดูกไหปลาร้าหักโดยให้แขน และไหล่ด้านที่กระดูกไหปลาร้าหัก อยู่นิ่ง พยายามไม่ให้เคลื่อนไหว
• กระดูกต้นแขนเดาะใช้ผ้าตรึงแขน ติดลําตัว
• กรณีที่หักอย่างสมบูรณ์รักษาโดย ใช้ผ้าพันรอบแขนและลําตัวหรือ ใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
• ถ้าหักไม่สมบูรณ์(incomplete fracture) รักษาโดยการใส่เฝือกขา
• ถ้าหักแยกจากกัน (complete fracture) รักษาด้วยวิธีการใช้แรงดึง
อาการและอาการแสดง
• มีอาการบวม เวลาทํา passive exercise ทารกจะร้อง เนื่องจากเจ็บปวด
• กระดูกเดาะ(greenstick fracture) อาจไม่มีอาการใด ๆ ประมาณ 7 – 10 วันหลังเกิดอาจจะคลําได้ กระดูกที่หนาขึ้น (callus formation)
การบาดเจ็บจากการคลอด
ทารกที่คลอดท่าก้น
มีขนาดตัวโต
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
ได้รับการช่วยคลอดด้วยคีม
เครื่องดูดสุญญากาศ
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เป้าหมายทางการพยาบาล
ระบุความเสี่ยงของทารก
เลือกวิธีการคลอดที่ปลอดภัยต่อทารก
ภายหลังคลอดทารกจะต้องได้รับประเมินการบาดเจ็บจากการคลอดทุกราย
เพื่อให้ได้รับการแก้ไขปัญหา อย่างรวดเร็ว
1.ก้อนบวมโนที่ศีรษะ (Caput succedaneum)
ก้อนบวมโนนี้จะขามรอยต่อ ( suture )ของกระดูกกะโหลกศีรษะ
เกิดจากการคลั่งของของเหลว
ระหว่างชั้นหนังศีรษะกับชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนบริเวณศีรษะทารกระหว่างคลอดท่าศีรษะ
ทําให้มีของเหลวซึมออกมานอกหลอดเลือดในชั/นใต้เยื่อหุ้มหนังศีรษะ
จากการใช้เครื่องดูดสูญญากาศช่วยคลอด(V/ E)
อาการและอาการแสดง
พบได้บริเวณด้านข้างของศีรษะ
ก้อนบวมโนนี/ทําให้ศีรษะ
มีความยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
สามารถหายได้เองโดย ไม่จําเป5นต้องรักษา
จะหายภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังคลอด
ประมาณ 3 วัน ถึง2-3 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับขนาดของก้อนบวมในที่เกิดขึ้น
2.ก้อนโนเลือดที่ศีรษะ (Cephalhematoma )
สาเหตุ
เกิดจากมารดามีระยะเวลา การคลอดยาวนาน
ศีรษะทารกถูกกดจาก ช่องคลอด
จากการใช้เครื่องสูญญากาศ ช่วยคลอด
เป็นผลให้หลอดเลือดฝอยบริเวณเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะทารกฉีกขาด
เลือดซึมออกมานอกหลอดเลือดใต้ชั้นเยื่อหุ้มกระดูกกะโหลกศีรษะ
ภาวะแทรกซ้อน
หากก้อนในเลือดมีขนาดใหญ่ จะเกิดภาวะระดับบิลิรูบิน ในเลือดสูง (hyperbilirubinemia)
อาจเกิดการติดเชื้อจากการดูด ลือดออกจากก้อนโนเลือด
แนวทางการรักษา
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน ก้อนโน เลือดจะค่อยๆหายไปได้เอง
อาจใช้เวลาเป็นสัปดาห์
ในรายที่ก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ อาจรักษาโดยการดูดเลือดออก
อาการและอาการแสดง
จะปรากฏให้เห็นชัดเจน ภายใน 24 ชั่วโมงหลังเกิด
ลักษณะการบวมจะมีขอบเขต ชัดเจนบนกระดูกกะโหลกศีรษะ ชิ้นใดชิ้นหนึ่ง
รายที่มีอาการรุนแรงอาจพบ อาการแสดงทันทีหลังเกิด
พบก้อนโนเลือดมีสีดําหรือนํ้าเงินคลํ้า
3.เลือดออกใต้เยื่อบุนัยน์ตา (Subconjunctival hemorrhage)
สาเหตุ
เกิดจากการที่มารดาคลอดยาก
ศีรษะทารกถูกกด
หลอดเลือดที่เยื่อบุนัยน์ตาแตก ทําให้มีเลือดซึมออกมา
แนวทางการรักษา
สามารถหายไปได้เองโดย ไม่ต้องการการรักษา
โดยใช้ระยะเวลา 2-3 สัปดาห์
4.เส้นประสาทที่มาเลี้ยงใบหน้าบาดเจ็บ (Facial nerve palsy)
เส้นประสาทสมองคู่ที่7 ได้รับบาดเจ็บจากการถูกกด ในระหว่างที่ศีรษะผ่าน หนทางคลอดหรือถูกกด จากการใช้คีมช่วยคลอด (forceps extraction)
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับบาดเจ็บจาก การคลอดโดยเฉพาะในรายที่คลอดยาก
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างที่เส้นประสาทเป็นอัมพาตจะอ่อนแรง
เห็นได้ชัดเจนว่าไม่สามารถ เคลื่อนไหวหน้าผากข้างที่เป็น อัมพาตให้ย่นได้
ไม่สามารถปิดตาได้
เมื่อร้องไห้มุมปากจะเบี้ยวไม่ สามารถเคลื่อนไหวปากข้างนั้นได้
กล้ามเนื้อจมูกแบนราบ
ภาวะแทรกซ้อน
ในรายที่มีอาการรุนแรง ไม่สามารถปิดตาได้อาจ ทําให้เกิดภาวะแทรกซ้อน คือกระจกตาเป็นแผล (corneal ulcer) ที่ตาของทารกข้าง ที่กล้ามเนื/อหน้าเป็นอัมพาต
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
• ภาวะแลกเปลี่ยนแก๊สบกพร่อง เนื่องจาก ร่างกายได้รับออกซิเจน ไม่เพียงพอเนื่องจากขาดออกซิเจน ขณะอยู่ในครรภ์การคลอดลําบาก ได้รับการบาดเจ็บจากการคลอด
• ภาวะเสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่อง จากการบาดเจ็บจากการคลอด
• ภาวะเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ เนื่องจากเนื้อเยื่อบาดเจ็บเนื่องจาก การคลอดยากคลอดเฉียบพลัน
กิจกรรมการพยาบาล
ทบทวนประวัติการฝากครรภ์ และการคลอด
ประเมินทารกโดยวางใต้ radiant warmer
สังเกตท่าทางการนอนของทารก ดูความสมดุลของการงอแขน ขา การเคลื่อนไหว
ประเมินสีผิวอาการฟกชํ้าจุดจํ้า เลือดรอยถลอกและแผลฉีกขาด
ประเมินขนาดรูปร่างการยืดขยาย ของหน้าท้อง ฟ้งเสียง ลําไส้เคลื่อนไหว .
ประเมิน Moro Reflex, Barbinski Reflex และการคดงอของกระดูก
การเคลื่อนไหวร่างกายบกพร่อง เนื่องจากเนื้อเยื่อ และเส้นประสาท บาดเจ็บเนื่องจากการคลอดยาก
กิจกรรมการพยาบาล
ทบทวนบันทึกประวัติการคลอด
ประเมินการเคลื่อนไหวของอวัยวะ ที่บาดเจ็บแรงของกล้ามเนื้อ ท่าทาง ความเจ็บปวด
ใส่เสื้อผ้าและสัมผัสทารกอย่าง นุ่มนวล หลีกเลี่ยงการวางของ ทับส่วนที่ทารกบาดเจ็บ
สอนครอบครัวดูแลทารกโดย ไม่ให้ออกแรงตรง อวัยวะที่บาดเจ็บ
ช่วยทารกออกกําลังกล้ามเนื้อข้างที่มี ภาวะ Erb’s palsy ทุก 2- 4 ชม