Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น กลุ่มอาการทางระบบประสาท -…
การวินิจฉัยแยกโรคและการรักษาพยาบาลเบื้องต้น
กลุ่มอาการทางระบบประสาท
ปวดศีรษะ
อาการ
-อาการเจ็บป่วยที่พบบ่อยอันดับต้นๆ
-ต้องซักประวัติแยกกับโรคซึมเศร้า
-ลักษณะและความรุนแรงจะช่วยแยกโรคได้
-การวินิจฉัยอาศัยการซักประวัติที่ครบถ้วนและถูกต้อง
-การแยกโรคที่รวดเร็ว ช่วยให้การรักษาเป็นไปได้อย่างถูกต้อง และทันเวลา
ยาที่ใช้ในการรักษา
Ibuprofen, Naproxen sodium, Paracetamol,
Aspirin
Examination
-General appearance
-Pupil, VA
-Motor power
-Cerebellar sign
การวินิจฉัยแยกโรค
มีรอยโรคในสมอง
◦ Infectious
◦ Trauma
◦ Tumor
◦ Vascular
อาการ
-มีอาการผิดปกติทางระบบประสาทร่วมด้วย
-มีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาเจียนพุ่ง
-มีอาการคอแข็ง
-ประวัติการใช้ยาสลายลิ่มเลือด
-มีอาการตามองเห็นเปลี่ยนแปลงไป
ไม่มีรอยโรคในสมอง
◦ Migraine headache
-มีสาเหตุจากเส้นเลือดหดตัวบริเวณกะโหลกศีรษะ
-พบมากในเพศหญิง
-อาการปวดเป็นพักๆ ลักษณะการปวด ปวดแบบเต้นตุ๊บๆ เป็น จังหวะ
-ร้อยละแปดสิบปวดข้างเดียว
-แยกเป็นสองประเภท
migraine without aura
migraine with aura
◦ Tension headache
-มีภาวะเครียด จากการทำงาน การใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไป การนอนน้อย
-อาการปวดมักเรื้อรังมากกว่าหกเดือน (มากกว่าเดือนละ 15 วัน)
-อาการปวดปวดแบบแน่นๆ รัดตึงบริเวณขมับสองข้าง หรือท้ายทอย
-การเปลี่ยนท่าทาง การไอ จาม ไม่ทำให้การปวดมากขึ้น
-ความรุนแรงไม่สม่ำเสมอ ขึ้นๆ ลงๆ
◦ Cluster headache
-ลักษณะเป็น cycle pattern
-ปวดรอบกระบอกตา
-ระยะเวลาการปวดเป็นนาที
-ไม่พบ aura
การซักประวัติ
เวลาที่เริ่มปวด
ระยะเวลาของอาการปวด
ลักษณะที่เริ่มปวด
ลักษณะของอาการปวด
ตำแหน่งที่ปวด
ความถี่ของอาการปวด
การดําเนินโรคของอาการปวด
อาการแสดงอื่นๆที่ร่วมกับอาการปวด
ประวัติอุบัติเหตุ
เวียนศีรษะ
อาการ
-อาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากกระบวนการรับรู้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายผิดปกติไป
-อาจเป็นความรู้สึกว่าตัวเองมีการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติไป
-หรือรู้สึกว่าสิ่งแวดล้อมผิดปกติไปก็ได้
-โดยทั่วไปผู้ป่วยมักจะบรรยายว่ามีการเห็นสิ่งรอบตัวเอียงหมุน หรือตัวเองหมุนไปรอบๆในบางครั้งจะมีความรู้สึกโคลงเคลงเหมือนอยู่ในเรือ
-ต้องถามประวัติให้ชัดเจนว่า อาการที่ผู้ป่วยหมายถึงนั้นคืออะไร
สาเหตุ
◦ Vestibular nerve
◦ Brainstem
◦ Cerebellum
◦ Temporal lob
การตรวจร่างกาย
-Orthostatic BP (ในรายที่มาด้วย ill-defined dizziness), hypertension
-HEENT ตรวจ external auditory canal, TM (otitis media, cholesteatoma, etc.)
-ตรวจ การตรวจเพื่อวินิจฉัยอาการเวียนศีรษะที่สำคัญได้แก่ การตรวจดูnystagmus
-ตรวจหาลักษณะของโรคในหู ได้แก่ การตรวจดูหู tympanic membrane ตรวจการได้ยิน โดยใช้ส้อมเสียง ( Webber, Rinne testing ผิดปกติสงสัย vestibular neuritis, Meniere’s syndrome แต่ก็อาจเกิดจาก CVA ได้)
-ตรวจระบบทางประสาทที่สำคัญ ได้แก่ cerebellar sign
การตรวจพิเศษ
ในกรณีที่สงสัยรอยโรคในระบบประสาทส่วนกลาง ควรทําการ
ตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติมทางรังสีวิทยา
◦ MRI brian
◦ CT brian
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
◦ CBC
◦ BUN Cr Electrolyte
◦ Glucose, +/- TFTs
การรักษา
กรณีที่สงสัย Central vertigo ส่งตรวจทางระบบรังสี หรือ
ส่งต่อไปยังรพที่มีศักยภาพ
ชาและอ่อนแรง
การซักประวัติ
-การเริ่มต้นอาการ (onset) ÆAcute, Subacute,Chronic
-การดำเนินโรค (Progressive)
-การกระจายของอาการอ่อนแรง (Distribution of weakness)
-อาการอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (Associated symptoms)
-ความรุนแรงของอาการ (Severity of symptoms)
-ประวัติการเจ็บป่วยและการรักษาในอดีต
-ประวัติครอบครัว (Family history)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง (Weakness หรือ paresis)
-Monoparesis / monoplegia หมายถึง อ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขน หรือขาข้างเดียว
-Hemiparesis / hemiplegia หมายถึง อ่อนแรงของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่ง
-Paraparesis / paraplegia หมายถึง อ่อนแรงของกล้ามเนื้อขา 2ข้าง
-Quadriparesis / quadriplegia หมายถึง อ่อนแรงของกล้ามเนื้อแขนและขาทั้ง 2ข้าง
Stroke
อาการ
-ชาหรืออ่อนแรงที่หน้า แขน ขา หรือร่างกายชาครึ่งซีก ทันทีทันใด
-สายตาพร่ามัว มองไม่ชัด มองไม่เห็นเฉียบพลัน อาจจะเป็นตาข้างใดข้างหนึ่ง หรือทั้ง 2ข้าง
-พูดไม่ชัด พูดช้า พูดผิด หรือ พูดไม่ได้เลย
-เสียการทรงตัว เดินเซ
-กลืนน้ำลาย หรือ กลืนอาหาร ลำบากเฉียบพลัน
-ปวดศีรษะกะทันหัน ปวดร้าวทั้งศีรษะ หรือมีอาการปวดศีรษะเปลี่ยนไปจากอาการที่เคยปวดเป็นประจำ
-ประวัติของโรคประจำตัว ยาที่รับประทานประจำ ประวัติของคนในครอบครัว
Examination
-Pupil size
-Vital sign
-Facial palsy
-Cerebellar sign
-Motor power
-Sensory
-Reflex
-Babinski sign
investigation
-CBC
-BUN Cr
-PT PTT INR
-EKG 12 Lead
-CT Brian NC
Plan
-Refer เพื่อพิจารณาให้ Thrombolytic agent ภายใน Golden period 3-4.5 Hrs.
-Advice
-ใช้การซักประวัติ และการตรวจร่างกายให้เร็วที่สุด
อาการ
-ชาและอ่อนแรงเป็นอาการที่พบบ่อยของโรคทางระบบประสาท ทั้งในคลินิกผู้ป่วยนอกและหอผู้ป่วยใน
-เป็นปัญหาที่สำคัญทำให้ผู้ป่วยทุพลภาพ
-ควรมีความรู้พื้นฐานในการ approach ปัญหานี้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และสามารถพิจารณาการเลือกส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ การประเมินความรุนแรงของโรคและพิจารณาส่ง ต่อเป็นปัญหาที่สำคัญทำให้ผู้ป่วยทุพลภาพ