Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และ การใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น - Coggle Diagram
การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และ
การใช้ยาในการรักษาโรคเบื้องต้น
นิยาม
“ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหา สุขภาพ โดยใช้ยาในขนาดที่ถูกต้อง กับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม และมี ค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อย ที่สุด”
หลักการและความสำคัญของการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
การใช้ยาโดยมีข้อบ่งชี้
เป็นยาที่มีคุณภาพ
มีประสิทธิผลจริง
หลักฐานที่เชื่อถือได้
ประโยชน์ทางคลินิก
ความเสี่ยงจากการใช้ยา
ราคาเหมาะสม
คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
การใช้ยาอย่างซ้ำซ้อน
คำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยา
บัญชียายังผล
การใช้ยาอย่างเป็นขั้นตอน
แนวทางพิจารณาการใช้ยา
เภสัชวิทยาคลินิก
ระบบประกันสุขภาพ
ระบบสวัสดิการรักษาพยาบาล
ความยั่งยืนในการเบิกจ่ายค่ายา
การใช้ยาที่ไม่เลือกปฏิบัติ
การปฏิเสธยาที่ผู้ป่วยสมควรได้รับ
กรอบแนวคิดและบัญญัติ10 ประการ
การสื่อสารเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Module3)
1.Determine need
การสื่อสารค้นความจำเป็นการใช้ยา Ex.แพทย์ถามPt สอบถามอาการ
2.Prescribe
สื่อสารขณะแพทย์ให้ยาแก่ผู้ป่วย
3.Dispense
การสื่อสารขั้นตอนจ่ายยา
4.Administer
สื่อสารการบริหารยาผู้ป่วย
5.Monitor/evaluate
สื่อสารกระบวนการติดตามและประเมินผลการรักษา
การใช้ยา Paracetamal ตามหลักการใช้ยาอย่างมีเหตุผล
:red_flag: ขนาดยา 10-15 mg./kg./ครั้ง
สูงสุดเกินกิน 5 does/วัน
แก้พิษ N-acetylcysteine
การใช้ยา NSIADs ตามหลักการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
Non steroidal anti-inflammatory drug
เป็นยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เป็นยากลุ่มที่ใช้เป็นยาแก้ปวดจากการอักเสบ คือ
Aspirin
การใช้ NSAIDs มากกว่า 1 ชนิด ผลข้างเคียง
CI
CVS (MI,HT,CHF,Stroke)
Renal
ไม่ใช้ Diclofenac เนื่องจากเสี่ยงต่อ Cardiovascular death
การใช้ยารักษา Antibiotic Smart Use in Pharyngitis
Modified centor critiria
อุณหภูมิกายมากกว่า 38 องศาเซลเซียส คือ ตัวร้อนแบบจับก็รู้ครับ แบบครั่นตัว ไม่สบายตัว ตัวรุม ๆ แบบนี้ไม่นับนะ
ไม่มีอาการไอ หมายถึงไม่มีอาการไอ ไม่มีอาการน้ำมูกเป็นอาการเด่น อาจจะมีเล็กน้อยมากเท่านั้น
ทอนซิลบวมมาก แดง หรือ มีจุดหนองที่ทอนซิล อันนี้ส่องในกระจกก็พอเห็นได้ ความจริงแล้วมีหนอง นี่สำคัญมาก
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณลำคอโต กดเจ็บ นับว่าโตคือตั้งแต่ 1 เซนติเมตรขึ้นไป
อายุ ให้คะแนนตามลำดับ จะเห็นว่าในผู้ใหญ่นั้น ส่วนมากเป็นศูนย์หรือติดลบ
Center Criteria
1.อุณหภูมิกายมากว่า 38 องศาเซลเซียส
2.มีฝ้าขาวที่ต่อมทอลซิล
3.คลำพบต่อมน้ำเหลืองโตบริเวณคอ กดเจ็บ
4.ไม่ไอ
ติดเชื้อจากไวรัส
อาการ มีน้ำมูก ไอ อาจเสียงแหม และเจ็บคอร่วม >> หายเองด้วยภูมต้านทานร่างกาย
ติดเชื่อจากแบคทีเรีย อาการ ไม่ไอ ไม่มีน้ำมูก มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต >> พบแพทย์/เภสัชกร ยาปฏิชีวนะ
การใช้ยาในการรักษา Acute Diarrhea/Acute Gastro enteritis/Food Poisoning ตามหลักการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
โรคอุจจาระร่วง
ซึ่งสาเหตุอาจจากการติดเชื้อไวรัส แบคทีเรียโปรโตซัวและ ปรสิตส่วนใหญ่อาการจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและสามารถหายได้เองภายใน 1-2 วัน โดยไม่จ าเป็นต้องใช้ยาต้านจุลชีพ ในการรักษา
คือ มีอาการถ่ายเหลวหรือ ถ่าย
เป็นน้ำมากกว่าหรือเท่ากับ 3 ครั้ง/วัน
แบ่งตามระยะเวลา
อุจาระร่วงเฉียบพลัน
นานไม่เกิน 14 วัน
อุจจาระร่วงต่อเนื่อง
นาน 14-30 วัน
อุจาระร่วงเรื้อรัง
นานเกิน 30 วัน
มีอุจจาระมากว่า 10 ครั้ง/กิโลกรัม/วัน >>> เด็ก และ มากว่า 200 กรัม >>> วัยรุ่นและผู้ใหญ่
การใช้ยาอมบรรเทาอาการเจ็บคอ ผสมยาปฏิชีวนะ
ยาที่มี neomycin เป็นส่วนประกอบเป็นยานอกบัญชียาหลักแห่งชาติ
Bacal
Basina
Lobacin
Mybacin
การกลืน neomycin ลงทางเดินอาหาร ชักนำให้แบคทีเรียในลำใส้ใหญ่ เช่น E.coli พัฒนาการดื้อยา
ลุกลามไปยังยากลุ่ม Gentamicin
การให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อของบาดแผลทั่วไป
การบาดเจ็บทุกชนิดที่ก่อให้เกิดการแตกสลายของผิวหนัง หรือเยื่อบุส่วนอื่นๆ ของร่างกาย
ประเภทบาดแผล
Clean wound
ไม่มีการติดเชื้อ ขอบ เรียบ ไม่มีเนื้อตาย หรือแผลที่เคยมีสิ่งสกปรกติดอยู่แต่สามารถล้าง ออกได้ง่าย เนื้อเยื่อของแผลเป็นสีชมพูอมแดง ไม่มีลักษณะของการ อักเสบบวมแดง
Contaminated wound
สกปรกติดอยู่ในบาดแผล เช่น เศษดินซึ่งไม่สามารถล้างออกได้ หรือบาดแผลซึ่งสัมผัสส่ิงสกปรก เช่น น้ําลาย หนอง มูลสัตว์ น้ําคร่ำ
Infected wound
การอักเสบ ลุกลามเป็นบริเวณกว้าง จากการติดเชื้อมีสิ่งแปลกปลอมหรือปนเปื้อนมาก อาจมีสิ่งคัดหลั่งเป็นหนอง เนื้อเยื่อตาย
แผล Simple wound เป็นแผลถลอก ฉีกขาดน้อยกว่า 5 cm. ขอบแผลเรียบ เป็นน้อยกว่า 6 hr.ทำความสะอาดแผลไม่มีสิ่งตกค้าง
เกิดแผล >> ดูปัจจัยเสี่ยง แผลปนเปื้นสิ่งสกปรก, แผลเนื้อตาย,ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
มี >> ส่งพบแพทย์
ไม่มี >> ล้างแผลให้สะอาด
แผล Non-simple wound
Bite wound
Puncture wound
Incision wound
ถ้าเกิดแผล >> ส่งพบแพทย์ เย็บแผล วัคซีน
การบรรเทาอาการต่างๆของโรคหวัด
Acute Nasopharyngitis
น้ำมูกเป็นน้ำใสๆ ต่อมาข้นขึ้น สีเหลืองเขียวคล้ายหนอง มีอาการอ่อนเภลีย ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ไข้ต่ำๆ นาน 10-14 วัน
หลอดลมอักเสบเฉียบพลัน
รักษาไม่ได้ด้วยยาปฏิชีวนะ ไม่ควรจ่าย Amoxicillin,co-amoxiclav,macrolide หรือ quinolone
Sinusitis
ไซนัสอักเสบเฉียบพลันส่วนใหญ่มีสาเหตุ จากเชื้อไวรัส ไม่ใช่แบคทีเรีย
ไซนัสอักเสบที่เกิดขากแบคทีเรีย ใช้ยาปฏิชีวนะอาจใช้ใน วันที่ 3,7หรือ 10 ของอาการ
การใช้ยารักษาเบื้องต้น
ยาแก้ปวด ลดไข้ และต้านการอักเสบ
NSAIDs
Dicofenac (25,50) ถ้า (25) 1-2 tab oral tid pc. ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
Idomethacin (25/cap) 1-2 mg./kg./day tid. ใช้รักษา PDA
Mefenamic acid (250) รักษาอาการปวดหลัง ปวดปจด. 2 tab oral tid. pc. ระคายเคืองกระเพาะอาหาร
Naproxen (250) รักษาข้ออักเสบ เด็ก >2 ปี 5-7 mg./kg./dose. q 8-12 hr. ผู้ใหญ่ 1 tab oral bid. pc. ระวัง GI bleeding
Piroxicam (10/cap) เด็ก 0.2-0.3 mg./kg./day OD. ผู้ใหญ่ 1 cap oral bid. pc. Or OD. มีปฏิกิริยาต่อ ASA,Warfarin
Paracetamol
ผู้ใหญ่ (500) 1-2 tab oral q 4-6 hr.
เด็ก 10 -15 mg./kg. oral q 4-6 hr.
รับประทานไม่เกิน 5 dose ต่อวัน
Ibuprofen
บบรเทาการอักเสบ (400) 1-2 tab oral q 4-6 hr.
ลดไข้ (200) 1-2 tab oral q 4-6 hr.
ปวดประจำเดือน (400) 1 tab oral q 4-6 hr.
ยาแก้แพ้
Chlorpheniramine meleate CPM
ทารก–1 ปี ʘ 1 มก. 2 ครั้ง /วัน
1–5 ปี ʘ 1-2 มก.3 ครั้ง/วัน
6–12 ปี ʘ 2–4 มก.3 -4ครั้ง/วัน
ผู้ใหญ่(4)1tabʘ 3–4 ครั้ง/วัน
Hydroxyzine hydrochloride (Atarax10) รักษาอาการคัน ผิวหนังลมพิษ
เด็ก 1–2 mg/kg./day แบ่งให้วันละ 3–4คร้ัง
ผู้ใหญ่ 1 tab วันละ 3–4 ครั้ง
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
Dextrometrophan (15)
ผู้ใหญ่ 1 tab ʘ q 4hr. 2 tab ʘ q 6-8 hr.
Syrup 15 mg/tsp
เด็ก 2–6 ปี 2.5-5 mg. q 4 hr. ไม่เกิน 30 mg./day
6–12 ปี 5–10 mg. q 4 h
ไม่ควรใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี
Bromhexine (8)
เด็กอายุมากกว่า12 ปี และผู้ใหญ่ 1 tab ʘ tid.pc. เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี รับประทานครั้งละ 1⁄4 ช้อนชา วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
เด็กอายุ 2–6 ปี รับประทานครั้งละ ครึ่งช้อนชา วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
เด็กอายุ 6–12 ปี รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา วันละ 3 ครั้ง หลังอาหาร
ยาขับลม
Sodium Bicarbonate mixture (Sodamint) (300)
ยาเม็ด 1 tab ʘ tid.pc ยาน้ำ ครั้งละ 1 ช้อนโต๊ะ ʘ tid.pc
Mixture Carminative
ยานํ้า180 มล.
คร้ังละ 1 ช้อนโต๊ะʘ tid.pc
ยาระบาย
Bisacodyl (5) หรือ เหน็บ (10) ผู้ใหญ่ กินครั้งละ 1–3 เม็ด
เด็ก 1 เม็ด ʘ ก่อนนอน หรือเหน็บครั้งละ 1 เม็ด เวลา ต้องการถ่าย
Milk of Magnesia (MOM)
15–30มล. ก่อนนอน หรือตื่นนอนตอนเช้า
ยาลดกรดในกระเพาะอาหาร
Omeprazole (20,40)
ผู้ใหญ่ Active duodenal ulcer : 20 mg/day นาน4-8 wks. GERD / severe erosive esophagitis : 20 mg/day นาน 4-8 wks. เด็ก 0.2 - 3.5 mg/kg/day
Cimetidine (200,400) ผู้ใหญ่ (400) 1 tab ʘ OD.+hs. เด็กรับประทาน 20-40 มก./กก. แบ่งให้ 2 ครั้ง
ยาแก้คลื่นไส้ อาเจียน
Plasil (Metoclopramide)(10) 10mg/2ml (1 amp) ผู้ใหญ่ : 1 tab ʘ tid.ac. เด็ก : 0.15 - 0.3 mg/kg/dose ทุก 6 ชั่วโมง
ยาปฏิชีวนะ
Amoxicillin
ในเดก็ ให้ใช้ 30–50 มก./กก./วัน แบ่งให้วันละ 3–4 ครั้ง หากติดเชื้อรุนแรงอาจเพิ่มขนาด ได้ถึง 80 มก./กก./วัน
ผู้ใหญ่ 1-2 cap ʘ q 8ชั่วโมง
Penicillin V (125,250)
ผู้ใหญ่ (250) 1 tab ʘ qid.ac. นาน 7 – 10 วัน
เด็ก ให้ยา 50,000 หน่วย/กก./วัน แบ่งให้วันละ 3 – 4 ครั้ง ก่อนอาหารและ ก่อนนอน
Erythromycin
ใหญ่ 1-2 tab ʘ q 6 hr. ในรายที่อาการรุนแรง อาจเพิ่มยาได้ ถึงวันละ 4 กรัม เด็ก 30–50 mg./kg./day แบ่งให้วัน ละ 2–3 ครั้ง
Co – trimoxazole (bactim)
ผู้ใหญ่และเด็ก อายุมากกว่า12 ปี 2 tab ʘ bid.pc. เด็ก 6 – 12 ปี 1 tab ʘ bid.pc. เด็ก 6 เดือน -5 ปี 1⁄2 tab ʘ bid.pc.
Cloxacillin 250,500
ผู้ใหญ่ (250) 1-2 tab ʘ qid.ac.
เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี 1⁄2 - 1 ช้อนชา (62.5 – 125 มก.) เด็กอายุ 2 – 10 ปี 1 – 2 ช้อนชา (125 – 1,250 มก.) เด็กอายุเกิน 10 ปี 2 – 4 ช้อนชา (250 – 500 มก.)
Dicloxacillin (250,500)
ผู้ใหญ่ (250) 1-2 tab ʘ qid.ac.
อายุต่ำกว่า 2 ปี : รับประทานยาน้ํา 62.5 มก./ช้อนชา ครั้งละ 1 ช้อนชา ทุก 6 ชั่วโมง หรือ 125 มก./ช้อนชา ครั้งละครึ่ง (1/2) ช้อนชาทุก 6 ชั่วโมง
อายุ 2 – 10 ปี : รับประทานยาน้ํา 62.5 มก./ช้อนชา
ครั้งละ 2 ช้อนชา ทุก 6 ชั่วโมง หรือ 125 มก./ช้อนชา ครั้งละ 1 ช้อนชา ทุก 6 ชั่วโมง
ยาทาภายนอก
Gentian violet
Calamine lotion
Polyoph
Cotrimazole cream
Methyl salicylate (blam)
Hista – oph
Acyclovir cream