Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกนำ้หนักตัวผิดปกติ,ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์ - Coggle Diagram
ทารกนำ้หนักตัวผิดปกติ,ความผิดปกติเกี่ยวกับอายุครรภ์
จำแนกตามน้ำหนักแรกเกิดทารกแรกเกิด น้ำหนักน้อย ปกติ มาก จำแนกตามอายุในครรภ์ : ทารกเกิดก่อนกำหนด ครบ และหลังกำหนดและจำแนกตามน้ำหนักแรกเกิดและอายุในครรภ์
ทารกแรกเกิดน้ำหนักมากกว่าอายุในครรภ์ (LGA) Large for gestational age ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักมากกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 90เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากันทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักมากกว่าอายุครรภ์มีน้ำหนักแรกเกิดมากกว่า 4,000 กรัม
ปัจจัยส่งเสริม
กรรมพันธุ์ (มารดาน้ำหนักมาก) เพศ (เพศชายมักมีขนาดตัวใหญ่มากกว่าเพศหญิง) ปัจจัยทางด้านพยาธิสรีรวิทยา เช่น hydrops fetalisการมีหลอดเลือดใหญ่อยู่ผิดที่ Beckwith-Wiedemann syndrome
ภาวะแทรกซ้อน
CPD ส่งผลให้ทารกบาดเจ็บจากการคลอด ได้แก่ คลอดยาก ติดไหล่ก้อนบวมเลือดที่ศีรษะ กระดูกหัก Erb's palsy ใบหน้าอัมพาต ใช้ออกซิโตซิน ช่วยคลอดด้วยดีม หรือผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง มีภาวะหายใจลำบาก ระบบหายใจมีการพัฒนาล่าช้าเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ แคลเซี่ยมต่ำ ภาวะเลือดข้น ตัวเหลือง หัวใจโต หัวใจพิการแต่กำเนิดและ caudal regression syndrome
การรักษา
ป้องกันโดยควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดตลอดการตั้งครรภ์คาดคะเนขนาดของทารกกับเชิงกรานของมารดา อาจวางแผนC/S ประเมินน้ำตาลในเลือดบ่อยๆ ในระยะหลังคลอดให้สารน้ำที่มีกลูโคส 10-15% IV จนกว่าอาการของทารกจะคงที่ ประเมินการบาดเจ็บของทารกเพิ่มเติมจากการเอกเรย์ หรือ ซีทีสแกน (CT-scan)
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยมาก (very low birth weight : VLBW) ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,500 กรัม
SGA) Small for gestational age
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากันเรียกว่าทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่าอายุครรภ์มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม
ทารกแรกเกิดน้ำหนักเหมาะสมกับอายุในครรภ์ (AGA) Appropriate for gestational age ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักอยู่ระหว่างเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10 ถึง 90 เมื่อเทียบกับทารกปกติที่มีอายุในครรภ์เท่ากันทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักเหมาะสมกับอายุครรภ์
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (Low birth weight) ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 2,500 กรัมอาจจะเป็น preterm/term/postterm
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยมากๆ extremely low birth weight : ELBW)ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1,000 กรัม
ทารกโตช้าในครรภ์(intrauterine growth restriction,IUGR) เกิดจาก intrauterine asphyxia และ/หรือ ความพิการแต่กำเนิดของทารก
ภาวะที่ทารกมีอัตราการเจริญเติบโตช้ากว่าปกติระหว่างอยู่ในครรภ์มารดาเกณฑ์การวินิจฉัยที่ใช้กันมากที่สุด คือ"ทารกที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 10th percentile ของน้ำหนักทารกที่อายุครรภ์นั้น ๆ"
สาเหตุ
สาเหตุจากตัวทารกเอง (fetal causes) การติดเชื้อในครรภ์ความผิดปกติของโครโมโซม โดยเฉพาะ trisomy 18, trisomy 13 ความพิการโดยกำเนิด เช่น หัวใจพิการแต่กำเนิด, renal agenesis, anencephaly, osteogenesis imperfecta
สาเหตุจากมารดา (maternal causes) ภาวะขาดอาหารน้ำหนักมารดาขึ้นน้อย ภาวะโลหิตจางรุนแรง ภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง โรคทางหลอดเลือดในมารดา ยาและสารอันตราย ยากันชักบางตัว
สาเหตุจากรก (placental causes)และสายสะดือ รกเสื่อมสภาพ รกลอกตัวก่อนกำหนด chorioangioma (เนื้องอกรก) รกเกาะต่ำ
-
การรักษา
ระบุความเสี่ยงต่อภาวะ IUGR ของทารกจากการวัด HF ,U/S เป็นระยะเพื่อประเมินความพิการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ให้คลอดเมื่อครรภ์ใกล้ครบกำหนดหรือทารกอาจไม่ปลอดภัยดูดน้ำคร่ำและช่วยกู้ชีพเมื่อคลอดดูแลควบคุมอุณหภูมิร่างกายและให้ดูดนมแม่โดยเร็วหลังคลอดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC , TORCH titer,urine CMV และ drug screening, chromosome studies, total bilirubin
ข้อวินิจฉัย
การรักษาอุณหภูมิร่างกายไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจาก: มีข้อจำกัดของร่างกายในการรักษาอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่เกิดก่อนกำหนด มีไขมันใต้ผิวหนังน้อย
-
การปฏิบัติหน้าที่บิดามารดาบกพร่อง เนื่องจาก: ทารกถูกแยกไปรักษาที่ทารกป่วยมารดาติดสารเสพติดหรือสุราขณะตั้งครรภ์มารดาไม่ต้องการบุตร
ทารกครรภ์เกินกำหนดPostterm Infant) ทารกที่คลอดหลังจากอายุครรภ์ 42 สัปดาห์ปัจจัยที่อาจส่งผลให้คลอดเกินกำหนดการตั้งครรภ์ครั้งแรก การตั้งครรภ์ครั้งที่ 5 เป็นต้นไป มีประวัติระยะเวลาในการคลอดล่าช้า มารดาอาจจำประจำเดือนครั้งสุดท้ายคลาดเคลื่อน ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ
ภาวะแทรกซ้อน
น้ำคร่ำน้อย รกเสื่อม ทารกอาจได้รับสารอาหารและออกซิเจนไม่เพียงพอ สายสะดือถูกกด มีการถ่ายขี้เทาลักษณะเหนียวเนื่องจากมีน้ำคร่ำน้อย
ลักษณะ
ตื่นตัว ตาเปิดกว้าง ลำตัวผอมยาว ไขมันใต้ผิวหนังน้อย ผิวหนังมีขี้เทา แห้ง ลอก ไม่มีไขหรือขนอ่อน เล็บยาว
การรักษา
ตรวจอัลตราซาวนด์เพื่อประเมินอายุครรภ์และความผิดปกติของทารก ประเมินทารกด้วย NST, CST และให้คลอดเมื่ออายุครรภ์ 43สัปดาห์ ดูดมูกก่อนทารกคลอดทั้งตัว และใส่สาย NG เพื่อดูดขี้เทาที่อยู่ใน ระดับลึกก่อนที่จะหายใจครั้งแรก ช่วยเหลือการหายใจของทารก ตรวจระดับแก๊สในเลือด ตรวจเอกซเรย์ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ กลูโคส ฮีมาโตคริต บิลลิรูบิน