Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะ ตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาติดสารเสพติดในระยะ ตั้งครรภ์
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดา เสพสารเสพติดเฮโรอีน ในระยะตั้งครรภ์
แนวทางการรักษา
ให้ยา
ใช้เป็นเกณฑ์ที่ Finnegan เป็นผู้คิดขึ้นประเมินความรุนแรง ของภาวะถอนย
ทารกแรกเกิดมีอาการ“ ถอนยา” ถึงร้อยละ 90
อัตราตายสูงถึงร้อยละ 90
มีชื่อทางเคมีว่า Diacetyl Morphine Hydrocloride
เฮโรอีนมีฤทธิ=ร้ายแรงกว่า Morphine 3-8 เท่าร้ายแรงกว่าฝ?น 80 เท่า
ผลจากการเสพเฮโรอีนใน ระยะตั้งครรภ์ต่อทารกในครรภ์
ทารกมีภาวะออกซิเจน ในเลือดตํ่า (hypoxia)
ทารกเกิดก่อนกําหนดเนื่องจากมี การติดเชื้อร่วมกับการเกิดถุงนํ้าครํ่าแตก
ความพิการแต่กําเนิด อาจเกิดจากการติดเชื้อ
อาการและอาการแสดงของ ทารกแรกเกิดที่มีภาวะถอนยา
ภายใน 24-48 ชั่วโมง
มีอาการทางระบบประสาท
มีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติ
กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้ นอนหลับยาก
แขนขาสั้นหรือสั้นทั้งตัว moro reflex ไม่ดีร้องเสียงแหลม
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มารดาดื่มแอลกอฮอล์ใน ระยะตั้งครรภ์
ทารกแรกเกิดที่มีภาวะ FAS อย่างรุนแรง
มีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ มีการเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อ และระบบประสาทไม่ดี
ระดับสติปัญญา (IQ) ตํ่า
มีลักษณะผิดปกติของรูปหน้า อย่างชัดเจนศีรษะเล็ก เป็นโรคหัวใจแต่กําเนิด
กลุ่มอาการทารกติดสุรา (fetal alcohol syndrome = FAS)
พบได้ในช่วง 6-12 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ระยะ 1-3 วันแรกทารกจะมีอาการสั่น นอนหลับได้น้อยร้องไห้ตลอดเวลา
ท้องอืดมีลักษณะคล้ายหิวนมตลอดเวลา แต่ดูดได้ไม่ดี
แนวทางการรักษา
ให้มารดาเลิกดื่มสุราเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์
ทารกให้ยาที่ใช้รักษาระบบประสาท ส่วนกลางให้ทํางานดีขึ้น
ให้ยาระงับหรือป้องกันการชักคือ Phenobarbital หรือ diazepam
การประเมินตามแบบ ของ Finnegan
ประเภทของยาที่ใช้ในการรักษา
ยานอนหลับเช่น morphine sulfate
ยากล่อมประสาทเช่น diazepam หรือ valium หรือ Phenobarbital
ให้คะแนนจากลักษณะ อาการและอาการของทารกตั้งแต่แรกเกิด
ประเมินทุก 1 ชั่วโมง ตลอด 24 ชั่วโมง
อาการดีขึ้นประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงและ 4 ชั่วโมงตามลําดับ
ประเมินได้ 7 คะแนนหรือตํ่ากว่าห้ามให้ยากล่อมประสาท ประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไปให้ การรักษาโดยให้ยาร่วมกับ การรักษาทั่วๆไป
fetal tobacco syndrome
ทารกมีการเจริญเติบโตช้า
มีนํ้าหนักตัวตํ่ากว่าปกติ 150 - 300 กรัม
เกิดก่อนกําหนด
เกิดภาวะหายใจลําบาก
ทารกมีปากแหว่งเพดานโหว่
ไส้เลื่อน (inguinal hernia)
สารเสพติด (drug addict)
ตัวยาหรือสารบางชนิด ที่เมื่อเสพเข้าสู่ร่างกาย
สูบรับประทาน ฉีด สูดดม
ระบบประสาทสมองไขสันหลัง ปลายประสาทและกล้ามเนื่อเกิดการคลายตัว
ลดการทํางานของสมอง
เกิดการดื่อยา
ประเภท
บุหรี่
สุรา
เฮโรอีน
สาเหตุ
จากตัวผู้เสพเอง - อ่อนแอ
พึ่งพา เบี่ยงเบน ก้าวร้าว
สาเหตุทางจิตใจ / สาเหตุทางกาย
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่ มารดาสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์
ละอองของเหลว / ทาร์ก่อให้เกิด โรคมะเร็งปอดและถุงลมโป่งพอง
สารระคายเคืองในหลอดลม
สารนิโคตินเข้าสู่สมองภายใน 7 นาที ทําให้มีผลต่อระบบประสาทและ ระบบไหลเวียนโลหิต
คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ขัดขวาง การลําเลียงออกซิเจนของเม็ดเลือดแดง
ผลของการสูบบุหรี่ในระยะตั้งครรภ์ ต่อทารกในครรภ์และทารกแรกเกิด
หลอดเลือดหดรัดตัว (Vasoconstriction)
คาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมาก
ขาดออกซิเจนอย่างเรื้อรังมารดาแท้ง
ทารกตายทารกในครรภ์มีกลุ่มอาการ ติดบุหรี่ (fetal tobacco Syndrome)