Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ซัพพลายเชน โลจิสติกส์และการกระจายสินค้า - Coggle Diagram
บทที่ 7 ซัพพลายเชน โลจิสติกส์และการกระจายสินค้า
ความหมายการบริหารซัพพลายเชน
ซัพพลายเชนประกอบด้วย 5 ส่วน
ผู้กระจายสินค้า (Distributions)
ผู้ค้าปลีก (Retailers)
ผู้ผลิต (Manufacturers)
ลูกค้า (Customers)
ผู้จัดส่งวัตถุดิบ (Suppliers)
การบริหารซัพพลายเชน หมายถึง การบูรณาการกระบวนการทางธุรกิจ ในการประสานงานภายในองค์การเกี่ยวกับ กระบวนการจัดหาจัดซื้อ (Procurement) การผลิต (Manufacture) การจัดจำหน่าย (Distribution) การจัดการของเสีย (Waste disposal) การขนส่ง (Transportation) การจัดเก็บ (Storage) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) และการประสานงานกับองค์ภายนอก อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าด้วยการจัดส่งสินค้าที่ถูกต้อง ปริมาณที่ถูกต้อง สถานที่ ถูกต้อง ตรงเวลาโดยต้นทุนที่ต่ำ
ขั้นตอนการวางแผนและการกำหนดรูปแบบการกระจายสินค้า
กระบวนการวางแผนการกระจายสินค้า
การให้บริการในการกระจายสินค้า
ขั้นตอนการวางแผนการกระจายกิจกรรมในการกระจายสินค้า
การพิจารณาระบบการกระจายสินค้า
การวางแผนการจัดการค่าใช้จ่ายในการกระจายสินค้า
ควรบรรจุภัณฑ์ให้สินค้าปลอดภัยในการจัดส่งอย่างไร
สถานที่ตั้งคลังสินค้าควรพิจารณาปัจจัยอะไรบ้าง
การดำเนินการเกี่ยวกับกระบวนการสั่งซื้อควรทำอย่างไร
การให้บริการในการจัดส่งสินค้าควรให้บริการใดบ้างที่ลูกค้าพึงพอใจ
การจัดส่งสินค้าควรมีการขนส่งประเภทใดบ้าง
ควรมีคลังสินค้าไว้บริการลูกค้าจำนวนเท่าไร
ควรจัดเก็บสินค้าคงเหลือไว้พร้อมขายในปริมาณเท่าไร
การกำหนดรูปแบบการกระจายสินค้า
ใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายหนึ่งระดับ
ใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายหลายระดับ
ใช้ช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรง
การควบคุมและประเมินผล
ประเมินผลการทำงาน
ปรับปรุงวิธีการกระจายสินค้าให้ดีขึ้น
ควบคุมการดำเนินงานว่าสามารถทำตามขั้นตอนหรือระบบงานหรือไม่
พิจารณาต้นทุนการกระจายสินค้าให้ต่ำที่สุดในระดับที่ลูกค้าพึงพอใจ
การกำหนดวัตถุประสงค์การกระจายสินค้า
เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายการใช้ช่องทางการจัดจำหน่าย
เพื่อการแข่งขัน
เพื่อให้การกระจายสินค้าเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ความหมายและความสำคัญของการบริหารโลจิสติกส์
การบริหารโลจิสติกส์ (Logistic Management) ความหมายทางธุรกิจ หมายถึง กระบวนการวางแผน การปฏิบัติและการควบคุมที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตลอดจนประหยัดทุกขั้นตอนของการผลิตจนถึงส่งมอบสินค้า
ความสำคัญของการบริหารการจัดส่งสินค้า
การบริหารการจัดส่งสินค้าสร้างอรรถประโยชน์ด้านเวลา(Time Utility) และสถานที่(Place Utility)
การบริหารการจัดส่งสินค้าที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีส่วนในการลดต้นทุนและเพิ่มความพอใจแก่ลูกค้า ซึ่งเป็นการสร้างคุณค่าหรือมูลค่าเพิ่ม (Value added) ในสินค้า
วัตถุประสงค์ในการกระจายสินค้า
The right time
The right quantity
The right place
The least cost
The right goods
การวิเคราะห์ต้นทุนในการกระจายสินค้า
ต้นทุนผลิตตามปริมาณที่กำหนด
ต้นทุนกระบวนการสั่งซื้อและสารสนเทศ
ต้นทุนคลังสินค้า
ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าคงคลัง
ต้นทุนการขนส่ง
ระดับการบริการลูกค้า
ปัจจัยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการกระจายสินค้า
ลักษณะของผลิตภัณฑ์ (Product characteristic)
ต้นทุนการกระจายสินค้า (Distribution physical cost)
การบริการสินค้า (Customer services)
นโยบายราคา (Pricing policy)
อุปสงค์ (Demand)
ขอบเขตของการบริหารการจัดส่งสินค้า
ส่วนที่ 1 Inbound เป็นระบบที่นำ วัตถุดิบและชิ้นส่วน เข้ามาเพื่อใช้ในการผลิต เป็นการจัดการพัสดุ (Material management) หรือ (Physical supply)
ส่วนที่ 2 Outbound เป็นระบบที่นำสินค้าสำเร็จรูปจากบริษัทผู้ผลิตหรือโรงงานไปยังลูกค้า เป็นการกระจายสินค้า (Physical distribution)
ความหมายของการกระจายสินค้า
คือ กิจกรรมขนส่งการเก็บรักษาสินค้าของธุรกิจหนึ่งภายในระบบช่องทางการจัดจำหน่ายเพื่อให้เกิดการประสานงานและให้เกิดต้นทุนในการจัดจำหน่ายต่ำสุด โดยมีระดับการให้บริการลูกค้าที่เหมะสม
องค์ประกอบของระบบการกระจายสินค้า
Warehousing and Storage
Material handling
Inventory management
Order processing
Protective packaging
Sipping
Transportation
Service
9 . Distribution Communication