Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 6 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 6 การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
ปัญหาการเจ็บป่วยทางร่างกาย
ภาวะทุพพลภาพ
การได้รับยาหลายชนิดร่วมกัน
ภาวะโภชนาการเดิมที่เป็นอยู่และบริโภคนิสัย
ปัญหาด้านจิตใจ
ภาวะซึมเศร้า
ความเหงา
ความสามารถในการเข้าถึงแหล่งอาหาร
การเดินทาง
การเปลี่ยนแปลงของร่างกาย
การรับรสและดมกลิ่นลดลง
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
เนื้อเยื่อที่ปราศจากไขมันลดลง
ความต้องการพลังงานขั้นพื้นฐานลดลง
ภาวะเศรษฐกิจและสังคม
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
เพศชายวันละ 2,250 กิโลแคลอรี่ เพศหญิง 1,850 กิโลแคลอรี่
ควรได้รับไขมันไม่เกิน 30 %
ควรได้รับคาร์โบไฮเดรต 50 -55 %
ควนดื่มน้ำไม่ต่ำกว่า1,500 มิลลิลิตรต่อวัน
การประเมินภาวะโภชนาการ
BMI
การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง
การประเมินอาหารที่บริโภค
การตรวจวัดค่าทางชีวเคมี
การประเมินทางคลินิก
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
ประโยชน์ของการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
ทำให้ร่างกายมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้
ลดภาวการณ์พึ่งพา ลดภาวะทุพพลภาพ
ลดภาวะซึมเศร้า
ประเภทของการออกกำลังกาย
ประเภทที่1 การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ
isometric exercise หมุนข้อ บิดลำตัว การยกของดันของหนัก
isotonic exercise
ประเภทที่2 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมมรถภาพของปอดและหัวใจ
การเดินเร็ว การวิ่งเหยาะ
anaerobic exercise ฟุตบอล
ประเภทที่3 การออกกำลังกายเพื่อความยืดหยุ่นและการผ่อนคลาย
ไทชิ รำมวยจีน ชี่กง
แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกาย
หากมีปัญหาสุขภาพควรปรึกษาแพทย์เพื่อดัดแปลงหรือเลือกรูปแบบให้เหมาะสม
เน้นการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ ความเร็วต่ำ หลีกเลี่ยงisometrtc exercise
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับในผู้สูงอายุ
เข้านอนและตื่อนนอนให้ตรงเวลา เพื่อปรับวงจรการนอน
เข้านอนเมื่อรู้สึกง่วงเท่านั้น
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
หลีกเลี่ยงคาเฟฟอีน
การจัดการความเครียด
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
เจ็บป่วย
การขาดแคลนอาหาร ที่อยู่อาศัย เศรษฐกิจตกต่ำ
การถูกทำร้ายการถูกทารุณกรรม
ด้านสังคม
ด้านจิตใจ
สัมพันธภาพกับบุคคลในครอบครัว
การถูกทอดทิ้ง
การสูญเสีย
การประเมินความเครียด
การประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
การสังเกต การสัมภาณษ์
การตรวจร่างกาย
การตอบสนองต่อความเครียด
การจัดการต่อความเครียด
การจัดการกับความเครียดโดยมุ่งแก้ไขปัญหา
การปรับแก้โดยมุ่งปรับอารมณ์
กิจกรรมนันทนาการ
เกม กีฬา
เย็บปักถักร้อย ระวังอุบัติเหตุ
การเต้นรำ
การจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
ป้องกันอุบัติเหตุ