Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Birth Asphyxia และการกู้ชีพ - Coggle Diagram
Birth Asphyxia และการกู้ชีพ
การทําให้ทางเดินหายใจโล่ง
นํ้าครํ่ามีขี้เทาปน
แนะนําให้ทํา endotracheal suction อยู่ในทารกที่มีนํ้าครํ่า ปนขี้เทาและไม่ตื่นตัว (non vigorous)
นํ้าครํ่าใส
แนะนําSuction ทันทีภายหลัง การคลอด (ด้วย bulb syringe) เฉพาะในทารกที่มีการอุดตัน ทางเดินหายใจชัดเจนหรือใน ทารกที่ต้องการ positive pressure ventilation (PPV) เท่านั้น
การควบคุมอุณหภูมิ
Preterm (น้อยกว่า 1,500 กรัม)
มักพบภาวะอุณหภูมิตํ่าปรับอุณหภูมิห้องคลอดให้อยู่ที! 26 °c ทารกด้วยแผ่นพลาสติกวางทารกบนเบาะ ให้ความร้อนติดตามอุณหภูมิทารกอย่างใกล้ชิด
การประเมินความต้องการ และการให้ออกซิเจน
ระดับออกซิเจนในกระแสเลือด ที่ตํ่ากว่าปกติในช่วง 10 นาที แรกคลอดไม่ได้มีผลเสียต่อ ทารกโดยทั่วไปค่าOxyhemoglobin saturation จะอยู่ที่ 70-80% ในระยะเวลาหนึ่งหลังคลอด
ส่งผลให้ทารกมีภาวะ cyanosis ได้เป็นปกติ
การให้ออกซิเจนไม่ว่าจะมากหรือ น้อยจนเกินไปล้วน แต่มันตรายต่อทารก
PULSE OXIMETRY
การให้ออกซิเจน
ควรเริ่มโดยใช้ความเข้มข้นที่ room air ก่อนหากทารกมีภาวะหัวใจ เต้นช้า (น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที)
ภายหลังการกู้ชีพด้วยออกซิเจนที่ ระดับตํ่านานมากกว่า 90 วินาทีจึง ค่อยปรับความเข้มข้นเป็น 100% จนกว่าอัตราการเต้นของหัวใจจะ กลับเป็นปกติ
แนะนําให้วัดระดับออกซิเจนทุกครั้งที่ คาดว่าจะต้องทําการกู้ชีพให้ positive pressure ventilation มี cyanosis เป็นเวลานานหรือเมื่อมีการให้ ออกซิเจนตําแหน่งที่เหมาะสมในการติด probe แนะนําเป็นบริเวณข้อมือหรือฝ่ามือด้านในข้างขวา (wrist or medial surface of palm)
ภาวะขาดออกซิเจนในทารก (PERINATAL ASPHYXIA)
หมายถึง ภาวะที่สมองและส่วนต่าง ๆ ของร่างกายขาดออกซิเจนเกิดจาก ปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง (hypoxemia) เกิดขึ้นในทารกแรกเกิด ที่ไม่ร้องหรือมีคะแนน Apgar ตํ่ารวมถึง ทารกที!มีภาวะ asphyxia
-fetal distress
-ภาวะ late deceleration
-นํ้าครํ่ามีขี้เทา
การยุติการกู้ชีพสามารถยุติการกู้ชีพได้
ในกรณีที่ทารกไม่มีการเต้นของหัวใจ ตั้งแต่แรกคลอดยังคงไม่เต้นต่อ เนื่องนาน 10 นาที
หากต้องการดําเนินการกู้ชีพต่อ ควรพิจารณาเฉพาะในกรณีที่ทราบสาเหตุ
การหยุดเต้นของหัวใจอายุครรภ์ภาวะแทรกซ้อนที่ชัดเจน ผู้ปกครองสามารถยอมรับความเสี!ยงของความพิการ ที่เกิดตามมาภายหลังได้
พยาธิสรีรวิทยาภาวะASPHYXIA
ออกซิเจน
การหายใจเร็ว
การหายใจจะหยุดเรียกว่า primary apnea
การหายใจเป็นเฮือก ๆ ไม่สมํ่าเสมอประมาณ 4-5 นาที
อาการทางคลินิก
การหายใจไม่สมํ่าเสมอ /ไม่มีแรงในการหายใจ (หยุดหายใจ) /หายใจเร็ว
-อัตราการหายใจช้า (bradicardia) / เร็ว (tachycardia)
-ความตึงตัว ของกล้ามเนื,อลดลง
แผนภาพแสดงขั้นตอน การกู้ชีพทารกแรกเกิด ของ NRP 5
-การประเมินเบื้องต้น (initial assessment)
ทางเดินหายใจ (Airway, A)
-การหายใจ (Breathing,B)
การไหลเวียนเลือด (Circulation, C)
การให้ยา (Drug, D)
VIGOROUS
ตื่นตัวดีประเมินได้จาก 3 ลักษณะดังต่อไปนี้
คลอดครบกําหนดหรือไม่
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อดีหรือไม่
หายใจหรือร้องดีหรือไม่
ขั้นตอนการดูแลเบื้องต้นในการกู้ชีพ
-การให้ความอบอุ่น
-จัดศีรษะให้อยู่ในท่า“ Sniffing”
-ทําทางเดินหายใจให้โล่งด้วย bulb syringe หรือ Suction catheter
-ถ้าจําเป็นเช็ดตัวให้แห้งกระตุ้น ]ให้เด็กร้องหรือหายใจ
แนวทางในการไม่ดําเนินการหรือการยุติ การกู้ชีพ
แนวทางในการดูแลทารกที่อยู่ในภาวะกํ้ากึ่งระหว่าง ความเป็นและความตายหรือ ในภาวะที่มีแนวโน้มในการเกิด ความพิการหรือเสียชีวิตสูงมี ความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับ ข้อจํากัดด้านทรัพยากรในแต่ละพื้นที่
VOLUME EXPANSION
-ในกรณีที่มีหรือคาดว่ามีการเสียเลือด หรือผิวหนังมีสีซีด
-poor perfusion ซีพจรเบา
-อัตราการเต้นของหัวใจ ไม่ตอบสนองต่อการกู้ชีพ
ควรเริ่มให้ volume expansion โดยแนะนําให้ใช้เป0น isotonic crystalloid solution หรือเลือดขนาด ที่แนะนําคือ 10 มก
END-EXPIRATORY PRESSURE
แนะนําให้ใช้ continuous positive airway pressure (CPAP) กับทารกที!สามารถหายใจได้เอง แต่ยังมีการหายใจติดขัดภาย หลังการคลอด positive end- expiratory pressure (PEEP) มักถูกใช้บ่อยในการใช้เครื่องช่วยหายใจใน NICU
การกดหน้าอกเพื่อนวดหัวใจ (CHEST COMPRESSION)
ประสิทธิภาพของการนวดหัวใจ
การคลํา Carotid หรือ femoral pulse
ภาวะไหลเวียนของเลือด บริเวณส่วนปลาย (peripheral circulation)
ขนาดของรูม่านตาซึ่ง ควรมีขนาดปานกลางหรือหดเล็ก
อัตราการเต้นของหัวใจที่น้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาทีภายหลัง ได้รับการช่วยหายใจด้วยออกซิเจน ที่เหมาะสมนาน 30 วินาที
2 thumb-encircling hands technique
2-finger technique
วิธีการกด
อัตราของการกดต่อการช่วยหายใจ เท่ากับ 3: 1 กดหน้าอกได้ 90 ครั้ง และช่วยหายใจได้ 30 ครั,งรวมเป0น 120 ครั้ง ใน 1นาทีใช้เวลาห่างของแต่ละครั้ง ประมาณครึ่งวินาที“ หนึ!งและสองและสาม และผู้กดต้องพูดบีบ-และหนึ!งและ สองและสาม-และบีบ .. "โดยช่วงที!นับให้ กดหน้าอกไปพร้อมกันเมื!อพูด“ บีบ” ให้บีบ bag ช่วยหายใจ 1 ครั้งทํา ต่อเนื่องกันไป
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา
HR <60 ครั้ง / นาทีหลังให้ 02 100% และช่วยนวดหัวใจนาน 30 วินาที หรือไม่มีการเต้นของหัวใจ