Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิวัฒนาการละครไทย, ภัทราพร ม.6/1 เลขที่ 1 - Coggle Diagram
วิวัฒนาการละครไทย
รัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ 5
มีโรงละครปริ้นเธียเตอร์
ละครเจ้าพระยามหินทรศักดิธำรง
อีกชื่อ "ละครคณะสยามมีส"
เก็บค่าตั๋วหน้าโรง
กำเนิดละครใหม่
ละครพันทาง
ละครร้อง
ละครพูด
ละครดึกดำบรรพ์(โอเปร่า)
รัชกาลที่ 4
เก็บภาษีมหรสพ
"ภาษีโขน"
พระราชนิพนธ์บทละคร
รามเกียรติ์
ตอน พระรามเดินดง
บทเบิกโรง
นารายณ์ปราบนนทก
บัญญัติข้อห้ามในการแสดงที่ไม่ใช่ละครหลวง
ฟื้นฟูละครหลวง
รัชกาลที่ 6
พระราชนิพนธ์บทละคร
พระร่วง
สกุลตลา
ท้าวแสนปม
ก่อตั้ง
กรมมหรสพ
โรงเรียนฝึกหัดศิลปะ
ใช้ละครในการสอน
"ละครปริศนา"
รัชกาลที่ 7
เกิดละครหลวงวิจิตรวาทการ
เป็นละครปลุกใจให้รักชาติ
เช่น
เรื่องเลือดสุพรรณ
เกิดละครร้อง
เรื่องจันทร์เจ้าขา
ยกเลิกกรมมหรสพ
กลับมามีอีกครั้งโดยอยู่ภายใต้กรมศิลปากร
รัชกาลที่ 3
ทรงยกเลิกละครหลวง
รัชกาลที่ 8
มีรำวงมาตรฐาน
ฟื้นฟูท่ารำเพลงแม่บทใหญ่
รัชกาลที่ 2
พระราชนิพนธ์บทละคร
ไกรทอง
คาวี
สังข์ทอง
ไชยเชษฐ์
มณีพิชัย
สังข์ศิลป์ชัย
รัฃกาลที่ 9
นาฏศิลป์และการละครเปลี่ยนไปอยู่ในการดูแลของรัฐบาล
กระทรวงวัฒนธรรม
พระราชทานพิธีไหว้ครู
พระราชนิพนธ์
เพลง กินรีสวีท
รัชกาลที่ 1
พระราชนิพนธ์บทละคร
รามเกียรติ์
ดาหลัง
อุณรุฑ
อิเหนา
สุโขทัย
อิทธิพล
ศาสนาพุทธ
ศาสนาฮินดู
วัฒนธรรมอินเดีย
หลักฐาน
จารึกพ่อขุนรามคำแหง
กล่าวถึงการเล่นดนตรี
บัญญิติศัพท์
ละคร
ฟ้อนรำ
โขน
อยุธยา
ละครนอก
เป็นที่นิยมของชาวบ้าน
แสดงได้แค่ผู้ชายเท่านั้น
เรื่องที่แสดง
ไกรทอง
มณีพิชัย
สังข์ทอง
ละครใน
แสดงในวัง
มีแต่ผู้หญิงเท่านั้น
เรื่องที่แสดง
อุณรุฑ
อิเหนา
รามเกียรติ์
ละครชาตรี
เก่าแก่ที่สุด
ต้นแบบมาจากเมืองนครศรีธรรมราช
เริ่มแสดงอย่างแพร่หลาย
นำเอานิทานพื้นบ้านมาแสดง
พิกุลทอง
แก้วหน้าม้า
ปัจจุบัน
ได้รับอิทธิพลของชาวต่างชาติ
มีรูปแบบและประเภทที่หลากหลาย
เน้นละครสะท้อนชีวิต
สมัยน่านเจ้า
พบการแสดง
ละครเรื่องมโนราห์
ระบำนกยูง
ระบำหมวก
คือถิ่นที่คนไทยอยู่อาศัยเป็นที่แรก
ธนบุรี
ทรงพระราชนิพนธ์บทละครรามเกียรติ์เพิ่ม
ตอน ทศกัณฐ์ตั้งพิธีทรายกรด
ตอน พระลักษมณ์ต้องหอกกบิลพัท
ตอน หนุมานเกี้ยวนางวานริน
ตอน ท้าวมาลีวราชว่าความ
ตอน ปล่อยม้าอุปการ
พระเจ้ากรุงธนบุรีทรงโปรดละครมาก
ภัทราพร ม.6/1 เลขที่ 1