Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระเบียบปฏิบัติและกฎหมายระบบมาตรฐานสากล - Coggle Diagram
ระเบียบปฏิบัติและกฎหมายระบบมาตรฐานสากล
ความร้อน
อุณหภูมิที่ลูกจ้างมำงานต้องไม่สูงกว่า ๔๕ องศาเซลเซียส วัดอุณหภูมิของร่างกายต้องไม่สูงกว่า ๓๘ องศา เซลเซียส ( ไม่รวมกรณีที่เป็นไข้ ซึ่งปกติอุณภูมิร่างกาย ๓๗ องศาเซลเซียสทางแก้ไข ถ้าที่ทำงานมีอุณภูมิเกิน ๔๕ องศาเซลเซียสให้ปรับ ให้ปรับปรุงแหล่งกำหนดความร้อนถ้าแก้ไขไม่ได้ต้องจัดอุปกรณ์ป้องกันความร้อนถ้าอุณภูมิ ร่างกายเกิน ๓๘ องศาเซลเซียส ต้องให้หยุดพักชั่วคราว
ทางแก้ไข
ปรับปรุงแก้ไขต้นกำเนิดเสียง
ทางผ่านของเสียง
สวมใส่ปลั๊กลดเสียงหรือครอบหูลดเสียง
เสียง
ทำงานไม่เกินวันละ ๗ ชั่วโมง ต้องไม่เกิน ๗๑ dB(A)
ทำงานเกินกว่าวันละ ๗ ชั่วโมง แต่ไม่เกินวันละ ๘ ชั่วโมง ต้องไม่เกิน ๘๐ dB(A)
ทำงานเกินวันละ ๘ ชั่วโมง ต้องไม่เกิน ๘๐ dB(A)
ระดับเสียงสูงสุดต้องไม่เกิน ๑๔๐ dB(A)
กฎหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อป้องกันอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงานเรื่องความร้อง แสง และเสียง
ขอบเขตของกฎหมายและการบังคับใช้ใช้บังคับกับสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ ๑ คนขึ้นไปทุก ประเภท
สาระสำคัญของกฎหมาย แบ่งเป็น ๔ เรื่อง คือ
3.1 ความร้อน
3.2 แสงสว่าง
3.3 เสียง
3.4 มาตรฐานของอุปกรณ์
แสงสว่าง
กำหนดให้มีแสงสว่างไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ โดยจำแนกตามลักษณะงานดังนี้
งานที่ไม่ต้องการความละเอียด ๕๐ ลักซ์
งานที่ต้องการความละเอียดเล็กน้อย ๑๐๐ ลักซ์
งานที่ต้องการความละเอียดปานกลาง ๒๐๐ ลักซ์
งานที่ต้องการความละเอียดสูง ๓๐๐ ลักซ์
งานที่ต้องการความละเอียดเป็นพิเศษ ๑,๐๐๐ ลักซ์
ทางเดินภายนอกอาคาร ๒๐ ลักซ์
ทางเดินภายในอาคาร ๕๐ ลักซ
มาตรฐานของอุปกรณ์
หมวกแข็งหนักไม่เกิน ๔๒๐ กรัม ไม่ทำด้วยโลหะ ทนแรงกระแทกอย่างต่ำ ๓๘๕ กก. 2. ปลั๊กลดเสียงได้อย่างต่ำ ๑๕ เดซิเบล
ครอบหูลดเสียงได้อย่างต่ำ ๒๕ เดซิเบล
สาระสำคัญของกฎหมาย
กำหนดให้นายจ้างต้องปฏิบัติดังนี้
กำหนดให้นายจ้างต้องปฏิบัติดังนี้
1.1 แจ้งสารเคมีอันตรายที่อยู่ในครอบครองตามที่อธิบดีจะได้กำหนด
1.2 ต้องส่งรายงานความปลอดภัยและการประเมินการก่ออันตรายจากสารเคมีอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง 1.3 ตามที่อธิบดีจะได้กำหนด
กำหนดให้นายจ้างต้องปฏิบัติในเรื่องดังต่อไปนี้
2.1 แจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย
2.2 การเก็บรักษา การขนส่ง นำสารเคมีอันตรายเข้าไปในสถานประกอบการต้องจัดฉลากปิดที่ภาชนะ ที่บรรจุหรือหีบห่อหุ้มสารเคมีอันตราย
2.3 สถานที่เก็บ วิธีการเก็บสารเคมีอันตรายต้องปลอดภัยตามสภาพหือตามคุณลักษณะของสารเคมีอันตราย 2.4 สถานที่ทำงานต้องสะอาด มีการระบายอากาศที่เหมาะสม มีออกซิเจนไม่ต่ำกว่าร้อยละสิบแปดโดย ปริมาตร และมีระบบป้องกันและกำจัดไม่ให้สารเคมีในบรรยากาศมีปริมาณเกินกำหนด
2.5 ไม่ให้ลูกจ้างพักอาศัยในที่ทำงานเก็บสารเคมีอันตราย
2.6 ตรวจวันสารเคมีในบรรยากาศเป็นประจำ
2.7 ต้องจัดทำรายงานความปลอดภัยและประเมินการก่ออันตรายของสารเคมี
2.8 จัดที่ล้างมือ ล้างหน้า ห้องอาบน้ำ ที่เก็บเสื้อผ้า
2.9 บรมลูกจ้างให้เข้าใจเรื่องการเก็บรักษา ขนส่ง กระบวนการผลิต อันตรายที่จะเกิดขึ้น วิธีการควบคุมและ ป้องกัน วิธีการอพยพ / เคลื่อนย้าย
2.10 ตรวจสุขภาพลูกจ้างทุกปี
2.11 จัดอุปกรณ์ดับเพลิงให้เหมาะสม
2.12 จัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
2.13 จัดอุปกรณ์และเวชภัณฑ์การปฐมพยาบาล