Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Melioidosis - Coggle Diagram
Melioidosis
การวินิจฉัย
แหล่งที่อยู่อาศัยของผู้ป่วย บ้านมีลักษณะ 2 ชั้้น ชั้นบนเป็นไม้ ชั้นล่างเป็นปูน มี 2 ห้องนอน มี 1 ห้องน้ำ ห้องครัว 1 ห้องติดอยู่หลังบ้าน รอบๆบ้านจะราดปูนซีเมนต์ มีต้นไม้ร่มรื่น ไม่มีคอกวัวอยู่บริเวณใกล้บ้าน ปฏิเสธการมีโรคประจำตัว
-
-
- Melioidosis Titer Positive 1:5120
-
Acute Kidney injury
-
สาเหตุ
มีการติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง กระจายเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้ผู้ป่วยเกิด ภาวะ Septic shock จนทำให้การทำงานของระบบต่าง ในร่างกายล้มเหลว ส่งผลกระทบต่อระบบไหลเวียนเลือด ทำให้ไตได้รับเลือดไปไหลเวียนไม่เพียงพอ และทำให้ไตถูกทำลาย
การวินิจฉัย
- BUN 35-55 mg/dl (30/8/64 - 2/9/64)
- Creatinine 1.44-2.07 mg/dl (30/8/64 - 2/9/64)
- eGFR 31.8-48.51 (30/8/64 - 2/9/64)
- CT Whole abdomen: วันที่ 30 สิงหาคม 2564 เวลา 13.18 น.
- Hepatosplenomegaly with two hypodense lesion at mid part of spleen, size 1.4 cm.
and 0.7 cm, probably splenic cysts.
- Few bilateral renal cortical cysts,Bosniak 1.
-
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยมีการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการไข้ ไอ หายใจหอบเหนื่อย และมีการติดเชื้อในกระแสเลือดร่วมด้วย เนื่องจากผู้ป่วยมีโรคไตวายเฉียบพลัน ทำให้เชื้อเมลิออยด์เข้าสู่กระแสเลือด และมีอาการ ไข้ หายใจลำบาก ปวดเอว และพบพยาธิสภาพที่ ม้าและตับ
Hepatosplenomegaly with two hypodense lesion at mid part of spleen, size 1.4 cm
การรักษา
-
รักษาแบบประคับประคอง
-
On ET-tube No. 7.5 stab 22 c VERA ventilator setting mode AC PA 18, FiO2 0.4, PEEP 5, RR 16 ตั้งแต่วันที่ 30 สิงหาคม 2564 – 2 กันยายน 2564 และเปลี่ยนเป็น CPAP FiO2 0.4 PEEP 5 Ps 12 ในวันที่ 2 ช่วงเช้า และ on 0.9% NSS 1000ml.
พยาฺธิสภาพ
โรคเมลิออยด์ (Melioidosis) เป็นโรคที่เกิดจากการติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei ซึ่งเป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบรูปแท่ง พบได้ในดินและแหล่งน้ำธรรมชาติ เชื้อมีความคงทนสามารถปรับตัวและเจริญเติบโตได้ในสภาวะแวดล้อมที่มีค่า pH5-8 ในช่วงอุณหภูมิ 24-32 oC และสามารถมีชีวิตรอดอยู่ได้
ภายในดินที่มีความชื้นต่ำกว่า 10% นานถึง 70 วัน (Tong et al.,1996) พบการติดเชื้อดังกล่าวได้ทั้งในคน (Limmathurotsakulet al., 2010) และสัตว์หลายชนิด ได้แก่ โค แพะ แกะ สุกร อูฐอัลปากา กวาง และ นก (Choy et al., 2000) แพะเป็นสัตว์ที่ไวต่อโรคเมลิออยด์ (Cheng and Currie, 2005)
การติดเชื้อโรคเมลิออยด์มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Burkholderia Pseudomallei ซึ่งพบได้ในน้ำ ดิน หรือตามพืชพันธ์ุต่าง ๆ แบคทีเรียชนิดนี้อาจติดต่อสู่มนุษย์โดยตรงผ่านการสัมผัสหรือแพร่ผ่านสัตว์เลี้ยงทีมีเชื้อนี้อยู่ในร่างกายอย่างแมว สุนัข หมู ม้า วัว ควาย แกะ หรือแพะก็ได้ โดยเฉพาะการสัมผัสกับเชื้อบริเวณผิวหนังที่มีแผลเปิดนั้นเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อสูง
คนและสัตว์เสี่ยงที่จะได้รับเชื้อจากการสูดหายใจเอาฝุ่นผงเข้าไป ทั้งการได้รับละอองน้ำเล็ก ๆ หรือการรับประทานน้ำที่มีเชื้อแบคทีเรียนี้เจือปนอยู่ ยิ่งในฤดูฝนจะเป็นช่วงที่เชื้อแพร่กระจายได้ง่ายที่สุด ส่วนการแพร่กระจายระหว่างมนุษย์กับมนุษย์นั้นมีการรายงานว่าพบได้น้อย
สาเหตุ
การติดเชื้อโรคเมลิออยด์มีสาเหตุจากแบคทีเรีย Burkholderia Pseudomallei ซึ่งพบได้ในน้ำ ดิน หรือตามพืชพันธ์ุต่าง ๆ ติดต่อสู่มนุษย์โดยตรงผ่านการสัมผัสหรือแพร่ผ่านสัตว์เลี้ยงทีมีเชื้อนี้อยู่ในร่างกายอย่างแมว สุนัข หมู ม้า วัว ควาย แกะ หรือแพะ โดยเฉพาะการสัมผัสกับเชื้อบริเวณผิวหนังที่มีแผลเปิดนั้นเสี่ยงต่อการได้รับเชื้อสูง
-