Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิหัวใจ - Coggle Diagram
พยาธิหัวใจ
-
ความดันโลหิตต่ำ
-
-
-
ในการไหลเวียน เลือดลดลง จึงมีเลือดกลับเข้าสู่หัวใจน้อยลง หัวใจจึงเต้นบีบตัวลดลง ส่งผลให้ความดันโลหิตลดลง เช่น ภาวะขาดน้ำ และ/หรือขาดเกลือแร่ ภาวะเลือดออกรุนแรง ภาวะร่างกายเสียน้ำจากท้องเสียรุนแรงหรือจากมีแผลไหม้รุนแรง การลุกขึ้นทันทีจากท่านอนโดยเฉพาะเมื่อนอนนานๆ เมื่อไม่ค่อยเคลื่อนไหวร่างกาย หรือเมื่อนั่งนานๆ (ปริมาณเลือดจะคั่งที่ขา เมื่อลุกขึ้นทันที เลือดจึงไหลกลับหัวใจได้น้อย ความดันโลหิตจึงต่ำลงทันที) ซึ่งกลไกนี้ พบเป็นสาเหตุของความดันโลหิตต่ำได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะในผู้สูงอายุจากไม่ค่อยดื่มน้ำ เรียกภาวะความดันโลหิตต่ำจากกลไกนี้ว่า ภาวะความดันโลหิตต่ำหรือตกจากการเปลี่ยนท่า (Postural or Orthostatic hypoten sion)
ลิ้นหัวใจพิการ
-
อาการ
ริมฝีปาก ผิวหนัง นิ้วมือ และเท้าเป็นสีเทาหรือเขียว เนื่องจากมีเลือดและออกซิเจนไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอ
-
-
-
-
-
-
-
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
พยาธิสรีรภาพ
เป็นผลมาจากการหนาและแข็งตัวของผนังหลอดเลือดแคงโคโรนารีจาการเกาะจับของคราบไขมันที่ก่อตัวพอกสะสมกันอยู่นานในหลอดเลือดจนทำให้คราบไขมันดังกล่าวมีขนาดโตขึ้นหลอดเลือดจึงเกิดการหนาและแข็งตัว ในบริเวณนี้เลือดจะไหลผ่านไม่สะดวกและมีปริมาณน้อยลงเกิดแรงต้านทานแรงเสียดสีของเลือดที่ไหลผ่านกับผนังหลอดเลือดสูงขึ้น
เกิดการปริแตก เกล็ดเลือดและสารที่ทำให้เลือดแข็งตัวไฟบริ โนเจน (ibrinogcn)และไฟบริน (tibrin) จะมาพอกรวมตัวกันบริเวณที่ปริแตกนี้และเกาะติดกับผนังหลอดเลือด ทำให้ (hrombus) อุดดันในหลอดเลือด
ะไฟบริน (tibrin) จะมาพอกรวมตัวกันบริเวณที่ปริแตกนี้และเกาะติดกับผนังหลอดเลือด ทำให้(hrombus) อุดดันในหลอดเลือดทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย โดยการตายนั้นจะเริ่มจากชั้นในออกมาชั้นนอกและจากส่วนกลางออกไปรอบ ๆ
สาเหตุ
หลอดเลือดแดงหัวใจตึบแข็ง (Coronary arteriosclerosis) เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ พบบ่อยในผู้ที่อยู่ในกลุ่มต่อไปนี้ ได้แก่ สู้มีไขมันในเลือดสูง ไม่ได้ออกกำลังกาย เป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ดื่มกาแฟหรือได้รับสารคาเฟอีน สูบบุหรี่
ลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดแดงหัวใจ ซึ่งมักจะเกิดตามหลังผู้ป่วยที่มีหลอดเลือดแดงหัวใจตึบแข็ง และเมื่อเกิดมี atcriomatous plaques เช่น การมีเลือดออกมาอยู่ใน plaqucs
-
-
-
-
การตรวจวินิจฉัย
-
-
-
-
การตรวจด้วยเครื่องเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ (MDCT), หรือเครื่อง MRI
-
ภาวะหัวใจล้มเหลว
-
-
สาเหตุ
-
-
-
หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ หัวใจเต้นช้าเกินไป กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดหรือกล้ามเนื้อหัวใจตาย โรคลิ้นหัวใจ
-