Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่ มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่ มารดาติดสารเสพติดในระยะตั้งครรภ์
บุหรี่
ละอองของเหลว ทารกก่อให้เกิดมะเร็งปอด ถุงลมโป่งพองสารระคายเคือง ระคายเคืองหลอดลม หลอดลมอักเสบเรื้อรังสารนิโคตินเข้าสู่สมองภายใน 7 นาที มีผลต่อระบบประสาทและระบบไหลเวียนโลหิต CO ขัดขวางการลำเลียงออกซิเจนของเม็ดเลือด
ผล
Vasoconstriction CO ในเลือดมากขาดออกซิเจนอย่างเรื้อรัง มารดาแท้ง หรือทารกตายทารกในครรภ์มรอาการติดบุหรี่ fetal tobacco syndrome ทารกมีการเจริญเติบโตช้าน้ำหนักตัวต่ำกว่าปกติ 150-300 กรัม เกิดก่อนกำหนด Respiratory distress ปากแหว่งเพดานโหว่ ไส้เลื่อน inguinal hernia ตาเหล่ strabismus IQ ต่ำ ทารกโตบุคลิกไม่อยู่นิ่ง hyperactive
แอลกอฮอล์
ทารกมีการเจริญเติบโตช้าในครรภ์เจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาทไม่ดีIQ ต่ำมีลักษณะผิดปกติของรูปร่างหน้าตาอย่างชัดเจน ศีรษะเล็กเป็นโรคหัวใจแต่กำเนิดผิดปกติภายนอกเกิด FAS fetal alcohol syndrome พบ 6-12 ชั่วโมงแรกหลังคลอด ระยะ 1-3วันแรกมีอาการสั่น นอนหลับได้น้อย ร้องไห้ตลอดเวลาท้องอืด มีลักษณะคล้ายหิวนมตลอดเวลา แต่ดูดได้ไม่ดี
แนวทางการรักษา
เลิกดื่มเมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ทารกใช้ยาที่รักษาระบบประสาทส่วนกลางให้ทำงานดีขึ้นให้ยาระงับหรือป้องกันการชัก Phenobarbital diazepam
เฮโรอีน
อัตราการตายสูงร้อยละ 90 มีสารทางเคมีชื่อว่า Diacetylmorphine Hydrocloride
ผล
ทารกเกิด hypoxiaทารกเกิดก่อนกำกนอเนื่องจากมีการติดเชื้อร่วมกับการเกิดถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดความพิการแต่กำเนิด อาจะเกิดจากการติดเชื้อภาวะตับอักเสบ จากการใช้เข็มร่วมกันซิฟิลิสแต่กำเนิดIUGR SGA
อาการและอาการแสดง
มีอาการภายใน 24-48 ชั่วโมง มีอาการทางระบบประสาท เคลื่อนไหวมากกว่าปกติ กระสับกระส่าย พักผ่อนไม่ได้ นอนหลับยาก แขนขาสั่นหรือสั่นทั้งตัว Moro reflex ไม่ดี ร้องเสียงแหลมและกวนผิดปกติ
อาการและอาการแสดงการถอนยาของทารก กล้ามเนื้อมีอาการเกร็งมากขึ้น หาวและจามบ่อย หิวตลอดเวลาแต่ดูดได้ไม่ดี มีเหงื่อออก ตัวเย็น Hyperactive ชักและหมดสติ และตาย
อาการทางระบบทางเดินอาหาร เช่น อาเจียน ท้องเสีย ไม่ยอมดูดนม ขย้อนได้ง่าย ดูดนมมากเกินไป ขาดน้ำ ท้องอืดหัวใจเต้นเร็ว เกิดภาวะ respiratory acidosis รอยข่วนที่หน้ามีแผลที่ก้น ซีด ตัวลาย mottling
แนวทางการรักษา
ให้ยาใช้เป็นเกณฑ์ Finnegan ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงของทารกตั้งแต่แรกเกิดทุก 1 ชั่วโมงตลอด 24 ชั่วโมงอาการดีขึ้น ประเมินทุก 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมง และ 4 ชั่วโมง ตามลำดับประเมินได้ 7 คะแนน หรือต่ำกว่า ห้ามให้ยากล่อมประสาทประเมินได้ 8 คะแนนขึ้นไปให้การรักษาโดยยากล่อมประสาททั่วไป
ยานอนหลับ เช่น morphinesulfate, methadone ยากล่อมประสาท เช่น diazepam หรือ valium หรือ Phenobarbital