Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบเลือด Hemato Phisiology, นางสาวปาริชาต ทองยัง…
พยาธิสรีรวิทยาระบบเลือด
Hemato Phisiology
หน้าที่ของระบบเลือด
การขนส่ง (Transportation) การขนส่งสารอาหาร
ควบคุมความเป็นกรด-เบสของร่างกาย (Regulation of body pH)
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย (Regulation of body temperature)
การควบคุมน้าในร่างกาย (Regulation of water balance)
การป้องกันสิ่งแปลกปลอม (Protection of foreign body)
องค์ประกอบของเลือด
พลาสมา (Plasma)
เป็นของเหลวสีเหลืองใส ซึ่งมีสารต่างๆ ละลาย อยู่ได้แก่ โปรตีนชนิดต่างๆ
เม็ดเลือด (Corpuscles)
เม็ดเลือดแดง
ทำหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนและคารบ์อนไดออกไซด์ระหว่างปอด และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย
ฮีโมโกลบิน (hemoglobin)
เอ็นไซม์ (enzyme)
อิออน (ion)
เม็ดเลือดขาว (Leucocyte , white blood cell)
ชนิดมีแกรนลู (Granulocyticorpolymorphonuclearcell)
นิวโทรฟิล ขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดง ประมาณ 2 เท่ามีสีชมพู หรือชมพูอมม่วง
อีโอสิโนฟิล มักจะ ไม่ทับนิวเคลียส
เบโซฟิล
เกล็ดเลือด
เกล็ดเลือด Platelet มีขนาดเล็กที่สุดประมาณ 2-4 ไมครอน ไม่มีนิวเคลียส ทำหน้าที่สำคัญเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
หลอดเลือดหดตัวเมื่อเกิดบาดแผล สารซีโรโทนิน (serotonin) จาก เกล็ดเลือดจะกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัว
เกล็ดเลือด จะปล่อยสาร ADP ออกมาทำให้เกล็ดเลือดเกิดการเปลี่ยนรูปร่าง และรวมกันอุดหลอดเลือดที่เกิดบาดแผล
การแข็งตัวของเลือด (Coagulation, clot) เกิดจากปฏิกิริยาของเกล็ดเลือด สารต่างๆ ใน พลาสมา และสารจากเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล
การสร้างเลือด (Hemopoiesis)
การสร้างเลือดของทารกในครรภ์ (Embryonic or Pre-natal hemopoiesis)
การสร้างเลือดนอกไขกระดูก(Extramedullary hemopoiesis)
การสร้างเลือดในระยะหลังคลอด (Post-natal hemopoiesis)
ตับมีบทบาทในการสร้างเลือด ช่วงประมาณสัปดาห์ ที่ 6 หรือเกือบปลายเดือนที่ 2
ม้ามจะเริ่มมีหน้าที่ในการสร้างเม็ดเลือด แต่เป็นเม็ดเลือดแดงมากกว่าเม็ดเลือดขาว ประมาณเดือนที่ 5 การสร้างเม็ดเลือดจะลด น้อยลงไปเรื่อย ๆ จนกระทั่งคลอด
ต่อมไทมัส (thymus gland) เป็นอวัยวะแรกที่สร้างเม็ดเลือด พวกลมิ โฟไซต์ก่อน
ต่อมน้ำเหลือง เป็นอวัยวะที่สร้างเม็ดเลือดชนิดลิมโฟไซต์
ความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง
Anemia เป็นสภาวะที่เลือดมี
ปริมาณฮีโมโกลบินต่ำกว่าปกติ
Normocytic normochromic anemia จำนวนเม็ดเลือดแดงในเลือดต่ำ
Microcytic hypochromic anemia
พบใน ทารกที่ ขาดธาตุเหล็กในอาหาร
Macrocytic hypochromic anemia เกิดจากการขาด antianemia
Aplastic anemia เกิดจากbonemarrow ผิดปกติจะเกิดขึ้นเองหรือได้รับรังสีมากเกินไป
หมู่เลือดระบบ ABO
หมู่เลือด A รับเลือดจาก A, Oและให้เลือด A และ AB
หมู่เลือด B รับเลือดจาก B, O และให้เลือด B และ AB
หมู่เลือด AB รับเลือดได้จากทุกหมู่ และให้เลือดได้เฉพาะ AB
หมู่เลือด O รับเลือดได้จากหมู่เลือด O เท่านั้น และให้เลือดได้ทุกหมู่
นางสาวปาริชาต ทองยัง UDA6380062