Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรวิทยาระบบเลือด Hemato Phisiology, นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์ …
พยาธิสรีรวิทยาระบบเลือด
Hemato Phisiology
หน้าที่ของระบบเลือด
การขนส่ง (Transportation) การขนส่งสารอาหาร
การควบคุม (Regulation)
2.1 ควบคุมความเป็นกรด-เบสของร่างกาย
2.2 ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
2.3 การควบคุมน้ำในร่างกาย
การป้องกัน (Protection)
3.1 การป้องกันการสูญเสียเลือด
3.2 การป้องกันสิ่งแปลกปลอม
องค์ประกอบของเลือด
พลาสมา (Plasma) เป็นของเหลวที่เป็นตัวกลาง ให้เม็ดเลือดแขวนตัวลอยอยู่ คิดเป็นสัดส่วน ประมาณ 55 เปอร์เซ็นต์ของเลือด มีลักษณะ เป็นของเหลวสีเหลืองใส
โปรตีนในพลาสมามีคุณสมบัติทางกายภาพที่สำคัญ ทางสรรีวิทยา โดย
อัลบูมนิ และโกลบูลิน เป็นตัวสาคัญที่เกี่ยวข้องกับความดันออสโมติก
โกลบูลินซึ่งมีอยู่ในรูปของ แอลฟา (α) บีตา (β) และแกมมา (γ) เกี่ยวข้องกับการสร้าง แอนติบอดี ฮอร์โมน และเอ็นไซมช์ นิดต่างๆ
ไฟบริโนเจนช่วยในการแขง็ตัวของเลือด
เม็ดเลือด (Corpuscles หรือ formed elements)คือ ส่วนที่เป็นตัวเซลล์แขวนลอยไหลเวียนในหลอดเลือดทั่วร่างกาย คิดเป็นสัดส่วนประมาณ 45
เม็ดเลือดแดง (Erythrocyte , red blood cell)
ฮีโมโกลบิน (hemoglobin)
เอ็นไซม์ (enzyme)
อิออน (ion)
เพื่อทำหน้าที่ขนถ่ายออกซิเจนและคารบ์อนไดออกไซด์ระหว่างปอด และเนื้อเยื่อต่าง ๆ ทั่วร่างกาย และทาหน้าที่เป็นบัฟเฟอร์ที่ปรับความ สมดุลของกรดและเบส
การสร้างเลือด (Hemopoiesis)
การสร้างเลือดของทารกในครรภ์
การสร้างเลือดในระยะหลังคลอด
ระยะเมดัลลารี (Medullary period) เมื่อตับและ ม้ามลดอัตราการสร้างเม็ดเลือดลง อวัยวะที่จะทาหน้าที่ แทน คือ ไขกระดูก
การสร้างเลือดนอกไขกระดูก (Extramedullary hemopoiesis)
ตับมีบทบาทในการสร้างเลือด ช่วงประมาณสัปดาห์ ที่ 6 หรือเกือบปลายเดือนที่ 2 และจะสร้างเม็ดเลือด ต่างๆ ได้สูงสุดใน เดือนที่ 4
ม้ามในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน ม้ามจะเริ่มมีหนาที่ในการ สร้างเม็ดเลือด แต่เป็นเม็ดเลือดแดงมากกว่าเม็ดเลือด ขาว ประมาณเดือนที่ 5
ต่อมไทมัส (thymus gland) เป็นอวัยวะแรกที่สร้างเม็ดเลือด พวกลมิ โฟไซต์ก่อน อวัยวะน้าเหลือง (lymphatic organ) อื่นๆ
ต่อมน้าเหลือง เป็นอวัยวะที่สร้างเม็ดเลือดชนิดลิมโฟไซต์เริ่ม จาก เดือนที่ 4 และ 5 และจะคงสร้างไปตลอดชีวิต
กำเนิดและการพัฒนาของเซลล์เม็ดเลือด (Origin and development of blood cell)
ทฤษฎีโมโนไฟลิติก (Monophyletic theory) เซลล์เม็ดเลือด ทุกชนิดกาเนิดมา "Totipotential hemocytoblast" โดยที่เซลล์นี้จะเจริญเป็น เม็ดเลือดแดง แกรนูลโลไซต์ โมโนไซต์ ลิมโฟไซต์ และทรอมโบไซต์ ได้ตามความต้องการของร่างกาย
ทฤษฎีโพลีไฟลิติก (Polyphyletic theory) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า เม็ดเลือดแต่ละสาย กาเนิดมาจาก เซลล์บรรพบุรุษของตัวเอง และแต่ละชนิดจะไม่มีการสร้างข้ามสายกัน
เม็ดเลือดแดงถูกสร้างในไขกระดูก
ไขกระดูกเป็นปัจจัยสาคัญเกี่ยวข้องกับการสร้างเลือด มีฮอร์โมนอีริโทรพอยอีติน
(Erythropoietin) ในเลือดเป็นตัวควบคุมการสร้าง
เม็ดเลือดแดงมีอายุประมาณ 120 วัน
ถูกทาลายในม้าม ตับ และไขกระดูก
ปริมาณเม็ดเลือดแดงในเลือด
เพศชายมีค่าเทากับ5.5-6.0ล้านเซลล์/ลูกบาศก์มิลลิลิตร
เพศหญิงมีค่าเท่ากับ4.5-5.0ล้านเซลล์/ลูกบาศก์มิลลิลติร
การสร้าง erythropoietin และการสร้างเม็ดเลือดแดง
ฮีโมโกลบิน (Hemoglobin, Hb) คือ โปรตีนในเม็ดเลือดแดง ทาหน้าที่รับสง่ แก๊ส ออกซิเจน และเป็นบัฟเฟอร์ที่ปรับความสมดุลของกรดและเบส
ความผิดปกติของเม็ดเลือดแดง
Anemia เป็นสภาวะที่เลือดมีปริมาณฮีโมโกลบิน หรือมีค่าปริมาณเม็ดเลือดแดงอัดแน่นต่ากว่า ปกติซึ่งเกิดได้จากสาเหตุต่างๆ เช่น
-เสียเลือดทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง (acute and chronic hemorrhage)
การสร้างหรือการเจริญของเม็ดเลือดแดงช้า (mononuclear deficiency)
ไขกระดูกผิดปกติ (aplastic bone marrow) หรือผนังเม็ดเลือดแดงเปราะแตกง่าย
Normocytic normochromic anemia จานวนเม็ดเลือดแดงในเลือดต่า
Microcytic hypochromic anemia (iron deficiency anemia) เม็ดเลือดแดงมีขนาดเล็ก ปริมาณฮีโมโกลบินต่ำ
Macrocytic hypochromic anemia (pernicious หรือ mononuclear anemia) เซลล์มี ขนาดใหญ่ ปริมาณฮีโมโกลบินมาก แต่ จานวนเซลล์น้อย
Aplastic anemia เกดิจากbonemarrow ผิดปกตอิาจจะเกิดขึ้นเองหรือได้รับรังสีมากเกินไป
Hemolytic anemia เกิดจากเม็ดเลือดแดงถูกทำลายมากกว่าปกติ
เม็ดเลือดขาว (Leucocyte , white blood cell)
1)เม็ดเลือดขาวสามารถเคลอื่นที่ผ่านผนังหลอดเลอืดฝอยสู่เนื้อเยื่อไปยังบริเวณที่มีเชื้อโรค (Diapedesis)
2)เม็ดเลือดขาวสามารถเคลอื่นเข้าไปหาเชื้อโรคโดยการดึงดูดของสารเคมีที่ถูกปล่อย จากเชื้อโรค เช่น แบคทีเรีย (Chemotaxis)
3)เม็ดเลือดขาวสามารถจับกินสิ่วแปลกปลอมโดยวิธีคล้ายอะมีบาเข้าโอบล้อมและย่อย เชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอมนั้น (Phagocytosis)
แบ่งเม็ดเลือดขาวออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ
1ชนิดมีแกรนลู หรือมีนิวเคลียสหลายแบบ(Granulocyticorpolymorphonuclearcell)
2 ชนิดไม่มีแกรนูล หรือ มีนิวเคลียสเดียว (Agranulocytic or mononuclear cell)
โมโนไซต์(Monocyte)เป็นเม็ดเลือดขาวทมี่ีขนาดใหญ่ที่สุดในกระแสเลอืดข
ลิมโฟไซต (Lymphocyte) โดยทั่วไปเป็นเม็ดเลือด ขาวที่มีขนาดเล็กที่สุด ใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดงเล็กน้อย
นิวโทรฟล(Neutrophilor polymorphonuclear cell, PMN) มี ขนาดใหญ่ กว่าเม็ดเลือดแดง ประมาณ 2 เท่า
.อีโอสิโนฟล(Eosinophil)มีขนาดประมาณ12 ไมครอน รูปร่าง เหมือนนิวโทฟิล ต่างกันที่ส่วนใหญ่ นิวเคลียสจะมี 2 พู
เบโซฟิล (Basophil) รูปร่างเหมือนนิวโทฟิลต่างกันที่ นิวเคลียสมีได้ตั้งแต่ 2-5พู
เกล็ดเลือด (Thrombocyte , platelet)
เป็นองค์ประกอบของเลือดที่มีขนาดเลก็ ที่สดุ ประมาณ 2-4 ไมครอน ไม่มีนิวเคลียส ส่วนใหญ่รูปร่างกลมแบน หรือ รูปไข่ กลไกห้ามเลือด (Homeostasis) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนที่สาคัญ คือ
หลอดเลือดหดตัว (Vasoconstriction) เมื่อเกิดบาดแผล สารซีโรโทนิน (serotonin) จาก เกล็ดเลือดจะกระตุ้นให้หลอดเลือดหดตัว
การเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด (Platelet aggregation) คือ ปล่อยสาร ADP (adenosine diphosphate) ออกมาทาให้เกล็ดเลือดเกิดการ เปลี่ยนรูปร่าง และรวมกัน (aggregate) อุดหลอดเลือดที่เกิดบาดแผล
การแข็งตัวของเลือด (Coagulation, clot) เกิดจากปฏิกิริยาของเกล็ดเลือด สารต่างๆ ใน พลาสมา และสารจากเนื้อเยื่อที่เกิดบาดแผล แบ่งเป็น 4 ขั้นตอนย่อย คือ
การเกิดการกระตุ้นโปรทรอมบิน (prothrombin activation) แบ่งย่อยได้ 2 ขบวนการ
Extrinsic pathway เกิดจากการทาลายเซลล์หลอดเลือด
Intrinsic pathway เกิดขึ้นภายในหลอดเลอื ด
การเปลี่ยนโปรทรอมบิน (prothrombin) เป็นทรอมบิน (thrombin) ทรอม โบพลาสติน (thromboplastin) ที่เกิดขึ้นจะกระตุ้นการเปลี่ยนโปรทรอมบิน เป็นทรอมบิน
การเปลี่ยนไฟบริโนเจน(fibrinogen)เป็นไฟบริน (fibrin)
4 การเกิดการหดตัวของก้อนเลือด (clot retraction)
หมู่เลือดระบบ ABO
เป็นหมู่เลือดระบบแรกที่มีการตั้งชื่อไว้ โดยอาศัยโปรตีนที่ทาหน้าที่เป็นแอนติเจน (antigen, Ag) บนผิวของเม็ดเลือดแดง ที่มีชื่อว่า Ag-A และ Ag-B สามารถแบ่งได้เป็นหมู่เลือดชนิดย่อย คือ หมู่เลือด กลุ่ม A B O และ AB
ตรวจสอบหมู่เลือดโดยอาศัยปฏิกิริยาทางวิทยา ภูมิคุ้มกัน ระหว่าง แอนติเจนบนผิวเม็ดเลือดแดง และแอนติบอดีในน้าเลือด ที่จาเพาะต่อกัน เกิดปฏิกิริยาการเกาะกลุ่ม (agglutination) ของเม็ดเลือดแดง ทาใหส้ ามารถทดสอบได้ว่าเลือดของคน มีหมู่เลือดอยู่ในกลุ่มใด
หมู่เลือดระบบ Rh
ค้นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ 2 ท่าน คือ Landsteiner และ Wiener ซึ่งได้ทำการฉีดเม็ด เลือดแดงของลิงรีซัส(Rhesus) เข้าไปในกระต่าย ซีรั่มของกระต่ายสามารถทาปฏิกิริยากับเม็ด เลือดแดงของคนผิวขาวได้
จากการศึกษาต่อมาพบว่าหมูมีแอนติเจนที่สาคัญ คือ แอนติเจน D C E C และ e จัดเป็น หมู่เลือดที่มีความสาคัญมาก ในคนผิวขาว ในคนไทยพบว่า 99.9 เปอร์เซ็นต์ มีหมู่เลือด Rh+
เลือด Rh จะไม่มีแอนติบอดี ต่อ แอนติเจนของหมู่เลือด Rh จึงเป็นสาเหตุสาคญั ของโรคเม็ดเลือดแดงสลายในเด็กแรกเกิด (hemolytic disease of the newborn) มักพบใน ลูกคนที่สองของเแม่ที่มีหมูเลือดRh-และได้รับการกระตุ้นให้สรา้งแอนติบอดี(immune antibody) จากลูกคนแรกที่มีหมูเลือด เป็น Rh+
เมื่อเลือดของแม่ที่มีแอนติบอดีนี้ผ่านรกไปยังลูกที่อยู่ในครรภ์ซึ่งมีแอนติเจนที่จาเพาะ กันจึงก่อให้เกิดการสลายเม็ดเลือดแดงของลูก ทาให้เกิดการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด
นางสาวศศิวิมล จอมทิพย์
UDA6380058