Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บท 6 การป้องกันเเละสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, image, image, image, image,…
บท 6 การป้องกันเเละสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการ
การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง เนื่องจาก Antrum และ Fundus บางลง
ความเป็นด่างในลำไส้เพิ่มขึ้นทำให้การดูดซึมวิตามินบี 12 และ โฟเลทลดลง
ต่อมน้ำลายเกิดการสะสมของไขมันและพังผืด
ตับและการไหลเวียนของเลือดที่ไปเลี้ยงตับลดลง
จำนวนต่อมรับรสและเส้นประสาทมีจำนวนลดลง
ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง
ปัญหาด้านจิตใจ ได้แก่ ภาวะซึมเศร้า เหงา โดดเดี่ยว
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการ
ความเจ็บป่วยเรื้อรัง
การใช้ยา
ความสะอาดของปากและฟัน
การใช้แอลกอฮอล์
การลดลงของระดับการรับรู้
เศรษฐกิจและสังคม
สภาวะจิตใจ อารมณ์
ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
ภาวะปกติ ผู้สูงอายุชาย 2,250 Kcal หญิง 1,850 Kcal
โปรตีน = 1 gm / 1 kg / day
ไขมัน = ไม่เกิน 30 % ของพลังงานทั้งหมด งดไขมันอิ่มตัว
คาร์โบไฮเดรต = 50 – 55 % ของพลังงานทั้งหมด
หญิงหมดประจำเดือน ควรบริโภค ca อย่างน้อย 1,000 mg / d
ภาวะทุพโภชนาการ (Malnutrition)
สาเหตุ
ภาวะทางอารมณ์ ซึมเศร้า เหงา
ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม
การได้ยาหลายชนิดร่วมกัน
ควบคุมอาหารมากเกินไป
ภาวะทุพพลภาพ เช่น อัมพาต
ฟันหลุดร่วง น้ำลายลดลง
ผลกระทบของที่เกิดขึ้นต่อระบบภูมิคุ้มกัน
ผู้สูงอายุที่ขาดโปรตีนและพลังงาน
การรับประทานวิตามินบีรวม จะช่วยเพิ่ม T cell และ
antibody ที่ตอบสนองต่อวัคซีนไข้หวัดใหญ่
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับพักผ่อน
NREM (non rapid eye movement)
เป็นระยะที่ไม่มีการกลอกตาอย่างรวดเร็ว
stage 2 ระยะเริ่มง่วง
stage 3 ระยะหลับลึก
stage 1 ระยะเริ่มหลับหรือเคลิ้ม
stage 4 ระยะหลับลึก
การหลับผิดปกติ
การนอนหลับมากหรือง่วงเหงาหาวนอนมาก
(hypersomnia)
sleep apnea
nacrolepsy หลับไม่ถูกกาลเทศะ
Parasomia พฤติกรรมที่เกิดขึ้นขณะหลับ เช่น เดินละเมอ
การนอนไม่หลับ (INSOMIA)
หลับๆ ตื่นๆ (interrupted sleep)
ตื่นเร็วเกินไป (early awakening)
หลับยาก (delayed sleep onset)
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
หลีกเลี่ยงการหลับตอนกลางวัน
เข้านอนและตื่นนอนเป็นเวลา
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ ผ่อนคลาย อุณหภูมิ อากาศ เสียง แสง
ที่นอน หมอนไม่แข็ง นุ่มเกินไป
ดูแลความสะอาดปากฟัน ปัสสาวะก่อนนอน หม้อนอนในห้องนอน
สวมเสื้อผ้าสบาย ไม่คับ
ดื่มเครื่องดื่มที่มี L-tryptopham เช่น กล้วยนมหลีกเลี่ยงคาเฟอีน นิโคติน
หลีกเลี่ยงอาหารเย็นมื้อหนักกิจกรรมออกกำลังกายก่อนนอนทานยาแก้ปวด
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกาย
กระบวนการสูงอายุที่มีผลต่อการออกกำลังกาย
มวลกล้ามเนื้อลดลง ทำให้ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง
ประสิทธิภาพของการทำงานของปอดลดลง เนื่องจากถุงลมมีจำนวนลดลง
มวลกระดูกลดลง ทำให้เกิดภาวะกระดูกพรุน ข้อเข่าเสื่อม
จากทฤษฎีเชื่อมไขว้ ทำให้เกิดภาวะลิ้นหัวใจตีบ เลือดสูบฉีดได้ลดลง
ประโยชน์ของการออกกำลังกาย
ลดภาวการณ์พึ่งพา
ลดภาวะทุพพลภาพ
ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ เช่น หัวใจ อ้วน
ด้านจิตใจ ลดภาวะซึมเศร้า เนื่องจากต่อมใต้สมองหลั่งสารเอ็นดอร์ฟินส์
ประเภทของการออกกำลังกาย
การออกกำลังที่เพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
การออกกำลังที่เพิ่มความยืดหยุ่นและผ่อนคลาย เช่น โยคะ ไทชิ
การออกกำลังที่เพิ่มความแข็งแรงทนทานของกล้ามเนื้อ
4.การจัดการความเครียด
สาเหตุความเครียด
การถูกทารุณกรรม abuse
ขาดปัจจัยพื้นฐานในการดำเนินชีวิต
สูญเสียบทบาท
ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในครอบครัว
การเจ็บป่วย
การถูกทอดทิ้ง ความตาย เศรษฐกิจ
การปรับตัวต่อความเครียด
การแก้ไขที่ปัญหา
การแก้ไขอารมณ์ที่เป็นทุกข์
การทำสมาธิ การจินตนาการไปในทางบวก
ลักษณะทางอารมณ์และจิตใจที่น่ารู้บางประการ
อารมณ์เหงา (Loneliness)
สาเหตุของอารมณ์เหงาที่เกิดกับคนทุกวัยโดยทั่วไป
สาเหตุของอารมณ์เหงาที่เกิดกับคนสูงอายุ
ภาวะซึมเศร้า
สาเหตุทางร่างกาย เช่น ภาวะสมองเสื่อม
หลอดเลือดสมองอุดตัน โรคพาร์กินสัน
ยาบางชนิด เช่น ยารักษาความดันโลหิตสูง
ยารักษาโรคกระเพาะอาหาร ยาขับปัสสาวะ
สาเหตุทางจิตใจมีการขาดหรือลดน้อยลงของสารสื่อประสาทบางชนิดในสมอง
ภาวะความสูญเสีย หรือภาวะที่ทำให้เกิดความเสียใจ ไม่สบายใจ
การพยาบาลผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพจิต
ควรรีบมาพบจิตแพทย์หากมีภาวะซึมเศร้ารุนแรง
สร้างกำลังใจให้ผู้สูงวัย
ให้ความเคารพยกย่อง
ใส่ใจในกิจวัตรประจำวันเช่นอาหาร การพักผ่อน
ให้ความช่วยเหลือในกิจกรรมที่ทำไม่ได้
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยการพยาบาล (nursing diagnosis)
กำหนดวัตถุประสงค์ (objective) และเป้าหมายการพยาบาล (Goal)
การประเมินโดยใช้แบบสอบถาม เช่น แบบวัดความเครียด กรมสุขภาพจิต
นันทนาการ
วิธีดำเนินกิจกรรมนันทนาการ
การเตรียมการ เตรียมสถานที่ อุปกรณ์ กระบวนการ
การดำเนินกิจกรรม เคารพในสิทธิ ระมัดระวังอุบัติเหตุ
การเลือกกิจกรรมนันทนาการ เลือกให้เหมาะสมกับ
ลักษณะของผู้สูงอายุที่ประเมินได้
การสิ้นสุดกิจกรรม กล่าวคำชมเชย ให้กำลังใจ
ประเมินผู้สูงอายุ ได้แก่ ประเมินข้อมูลพื้นฐาน
ความสนใจกิจกรรมนันทนาการ
การประเมินผลการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุ
ด้านจิตใจ : สนุกสนานเพลิดเพลิน ลดการพึ่งพา
ด้านสังคม : กระตุ้นให้มีส่วนร่วมในสังคม
กิจกรรมที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในสังคม
ด้านร่างกาย : ร่างกายแข็งแรง อายุยืน ป้องกันโรค
ด้านสติปัญญา : ฝึกให้สมองได้คิดวางแผน
การพยาบาลเพื่อจัดสิ่งเเวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ
สภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะสม
ตัวบ้าน ควรเป็นบ้านชั้นเดียว ไม่มีขั้นสูง มีชานพัก หรือบันไดกว้างลึก แสงสว่างเพียงพอ ไม่มีพื้นต่างระดับ ไม่มีธรณีประตู
พื้นบ้าน ควรปรับให้มีลักษณะเป็นพื้นเรียบ ไม่ขรุขระและไม่ขัดมันจนลื่น
ห้องน้ำ ที่สำคัญควรทำราวเกาะไว้รอบๆ ห้องน้ำ/ห้องส้วม
เพื่อให้ผู้สูงอายุใช้ในการยึดเกาะ
ห้องนอน อยู่ใกล้ห้องน้ำ มีแสงสว่างสำหรับการอ่าน
หรือเข้าห้องน้ำ อากาศถ่ายเทสะดวก
การมีส่วนร่วมในสังคม
ประเภทของกิจกรรมการมีส่วนร่วม
กิจกรรมที่มีรูปแบบ (Formal activity)
เช่น เข้าร่วมในสมาคมต่าง ๆ
กิจกรรมที่ไม่มีรูปแบบ (Informal activity) เช่น การช่วยเหลืองานของสมาชิกในครอบครัว และการพบปะสังสรรค์กับเพื่อน ญาติ
กิจกรรมที่ทำคนเดียว (Solitary activity)
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้ม
ปัจจัยภายในร่างกาย (intrinsic factors)
ปัจจัยภายนอกร่างกาย (extrinsic factors)
ผลกระทบ
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ผลกระทบทางด้านจิตใจ ได้แก่ ความวิตกกังวล ความกลัว
ผลกระทบต่อร่างกาย ได้แก่ การเสียชีวิต การบาดเจ็บ
แนวทางป้องกันการหกล้ม
การปรับพฤติกรรมส่วนตัว เช่น การค่อยๆ ลุกยืนอย่างช้าๆ
ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม เช่น ควรมีวัสดุกันลื่นในห้องน้ำ
การใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน เช่น โครงเหล็ก 4 ขา (Walker) ไม้เท้า
การส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ การฝึกเดินที่ถูกต้อง
เช่น การทำงานในยามว่าง
นางสาวยุพาวดี แพงบุบผา 621201148