Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวปาริชาติ ไตรยสุทธิ์…
พยาธิสรีรภาพของภาวะผิดปกติระบบหัวใจและหลอดเลือด
การำงานของระบบไหลเวียนโลหิต
หัวใจ (heart)
หลอดเลือดแดง (artery)
หลอดเลือดดำ (vein)
หลอดเลือดฝอย (blood capillary)
วิธีการประเมินการทำงานของหัวใจที่ควรทราบ
การฟังเสียงหัวใจ
การจับชีพจร
การวัดความดันโลหิต
ผลกระทบของความผิดปกติของผนังหลอดเลือดต่อสุขภาพ
อวัยวะที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ หัวใจ สมอง ไต ลำไส้เล็ก และ lower extremities
ซึ่งเกิดพยาธิสภาพ
Abdominal aorta/Terminal aorta
Coronary artery
Carotid และ Vertebral artery
หลักการรักษาพยาบาล
หลักการรักษาภาวะ atherosclerosis คือการทำให้ผนังหลอดเลือดบางลง เพื่อเพิ่ม งวดของหลอดเลือด
ผู้ที่มีแนวโน้มว่าจะ มีโอกาสเกิดภาวะ atherosclerosis เนื่องจากมีระดับไขมันในเลือดสูง การแนะนำให้ปรับ
พฤติกรรมสุขภาพใหม่เป็นบทบาทของพยาบาล
ความผิดปกติในระบบหัวใจและหลอดเลือดที่สำคัญ
ระดับความดันโลหิต
ภาวะความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง หมายถึง
ความดันโลหิตตัวบน ( Systolic Pressure ) สูงกว่า 140 มิลลิเมตรปรอท
ความดันโลหิตตัวล่าง ( diastolic Pressure ) สูงกว่า 90 มิลลิเมตรปรอท
การแบ่งระดับความรุนแรงของความดันโลหิตสูง มีการแบ่งระดับความรุนแรงของความดันโลหิตสูง
ชนิดของความดันโลหิตสูง
1. Primary hypertension หรือ Essential hypertension เป็นความความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งพบเป็นส่วนใหญ่ของผู้ป่วยที่เป็นความดันโลหิตสูง (ประมาณร้อยละ 90)
ชนิดของ ความดันโลหิตสูง
2.Secondary hypertension เป็นความดันโลหิตสูงชนิดที่ทราบสาเหตุ ซึ่งมีสาเหตุจากโรคไต เช่น โรคหลอดเลือดแดงของ
ไตตีบ (renal artery stenosis) สาเหตุจากโรคของระบบต่อมไร้ท่อ เช่น Cushing's syndrome, Pheochromocytoma
พยาธิสรีรภาพ
1.ความดันโลหิตสูงชนิดนี้ไม่ทราบกลไกการเกิดแน่นอน แต่มีการศึกษาหลายทฤษฎี
(1) Genetic defect มีความผิดปกติของไตเองตั้งแต่กำเนิด ไม่สามารถ excrete sodium และน้ าได้
(2) Sympathetic nervous system มี overactivity เพิ่มการหลั่งของสาร adrenaline และ Noreadrenaline
มากกว่าปกติ
(3) Renin angiotensin system ปัจจัยนี้ได้มีผู้พยายามศึกษาระดับเรนินในพลาสม่า ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงชนิด
ไม่ทราบสาเหตุ โดยแบ่งตามระดับเรนินว่าสูง ปกติหรือต่ า
หลายระบบของร่างกายท างานสัมพันธ์กันในการควบคุมความดันโลหิต ดังนั้นตัวก าหนดที่ส าคัญคือ ปริมาณเลือดที่
หัวใจสูบฉีดใน 1 นาที (cardiac output) และแรงต้านทานของหลอดเลือด (peripheral resistance)
BP = CO x PR
BP = Blood Pressure
CO = Cardiac Output
PR = Peripheral Resistance
พยาธิสรีรภาพ
การที่ไตถูกท าลาย หรือ หลอดเลือดแดงไปเลี้ยงที่ไตตีบลง จะกระตุ้น renin angiotensin aldosterone
System คือ renin enzyme ถูกหลั่งออกมาจาก Juxtaglomerular cell ของ renal afferent
arteriole มากขึ้น ท าปฏิกิริยาต่อ Renin substrate จากตับ เป็น Angiotensin I
ความดันโลหิตต่ำ
จากการเปลี่ยนท่า
ความผิดปกติอื่น ๆ ของหลอดเลือดที่ควรทราบ
Venous thrombosis
Thromboangitis obliterans
Aortic aneurysm
Kawasaki’s disease
Raynaud’s syndrome
Takayasu’s disease
กล้ามเนื้อหัวใจ
ขาดเลือด
ลิ้นหัวใจพิการ
ระบบไฟฟ้าหัวใจ
ภาวะหัวใจล้มเหลว
ภาวะหัวใจล้มเหลว (Heart Failure) หมายถึง ภาวะที่หัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย หรือรับเลือดกลับสู่หัวใจได้ตามปกติ ซึ่งภาวะหัวใจล้มเหลว มีอยู่ 2 ชนิด
หัวใจห้องล่างขวาล้มเหลว(Right-sided heart failure) โดยปกติหัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่รับเลือดจากร่างกายส่งไปยังปอด หากเกิดภาวะนี้จะทำให้ของเหลวในร่างกายคั่ง เกิดอาการบวมของเท้า ตับโต แน่นท้อง
หัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว(Left-sided heart failure) โดยปกติหัวใจห้องล่างซ้ายทำหน้าที่สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย หากเกิดภาวะนี้จะทำให้เลือดคั่งในปอด(น้ำท่วมปอด) ร่วมกับมีอาการบวมที่เท้าได้ เพราะโดยส่วนมากแล้วโรคหัวใจล้มเหลวมักจะมีผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจทั้งสองด้าน
ภาวะหัวใจล้มเหลว มีอาการอย่างไร?
หายใจลำบาก – เมื่อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดออกไปเลี้ยงร่างกายได้ ส่งผลให้เลือดไหลกลับไปที่ปอด จึงทำให้มีอาการหายใจถี่ หายใจลำบากเมื่อนอนราบ หรือต้องตื่นขึ้นมานั่งหายใจในตอนกลางคืนเพื่อให้อาการดีขึ้น
บริเวณเท้าและขาบวม กดแล้วบุ๋ม จากอาการบวมน้ำ มีภาวะคั่งน้ำและเกลือ เกิดน้ำคั่งที่อวัยวะภายใน เช่น ตับและม้ามโต มีน้ำในช่องท้อง ท้องอืด ท้องโตขึ้น
เวียนศีรษะ เมื่อยล้า - เกิดจากเลือดไม่สามารถสูบฉีดไปยังอวัยวะต่าง ๆ รวมถึงกล้ามเนื้อต่าง ๆ ทำให้ไม่สามารถประกอบกิจวัตรต่าง ๆ ได้เท่าเดิม
นางสาวปาริชาติ ไตรยสุทธิ์ UDA6380066