Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบเลือด Medications Affecting the Hematologic System -…
ยาออกฤทธิ์ต่อระบบเลือด
Medications Affecting the Hematologic System
Medications Affecting Coagulation
ยาห้ามเลือดและทำให้เลือดแข็งตัว
Tranexamic acid (Transamin®)
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสลายตัวของไฟบริน (antifibrinolytic)
ยาจะเข้าจับที่ fibrin biding site บน plasminogen แบบผันกลับได้ ทำให้โครงสร้างของไฟบรินคงตัว
ข้อบ่งใช้
ป้องกันภาวะที่มีเลือดออกผิดปกติขณะผ่าตัด
ป้องกันและทุเลาการเสีย เลือดในผู้ป่วย hemophilia
ผลข้างเคียง
มีลิ่มเลือดอุดตัน
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน
มองเห็นผิดปกติ
Vitamin K1 (Phytomenadione)
กลไกการออกฤทธิ์
เป็น cofactor ที่จำเป็นในการสร้าง coagulation factor ได้แก่ factor II, VII, IX และ X ที่ตับ
ข้อบ่งใช้
ได้รับยาประเภท warfarin เกินขนาด
ภาวะขาด vitamin K
ภาวะ prothrombin ต่ำ
ผลข้างเคียง
Anaphylactoid reaction หลังจากฉีดเข้าทางเส้นเลือดดำ
ยาหรือสารที่เปลี่ยนแปลงกระบวนการแข็งตัวของเลือด
Anticoagulants ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
oral ทางปาก
warfarin
parenteral (ทางหลอดเลือด)
heparin
enoxaparin
fondaparinux
Direct thrombin inhibitors ยับยั้งทรอมบินโดยตรง
Dabigatran
Direct inhibitors of factor Xa ยับยั้ง factor Xa
Rivaroxaban
Antiplatelets ยาต้านเกล็ดเลือด
Aspirin
clopidogrel
Thrombolytic agents ยาละลายลิ่มเลือด
alteplase
Tenecteplase
Reteplase
tPA
Growth Factors
มีคุณสมบัติในการกระตุ้นหรือเหนี่ยวนำให้เกิดการแบ่งตัวและเพิ่มจำนวนเซลล์ การกระตุ้นการเจริญของเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ เรียกว่า hemopoietic growth factors
Biological name – " erythropoietin " (EPO)
ยาที่ไปกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
epoetin alfa
epoetin beta
หน้าที่
กระตุ้นการแบ่งตัวและการพัฒนาของเซลล์ต้นกำเนิดในไขกระดูกไปเป็นเม็ดเลือดแดง และทำหน้าที่กระตุ้นการสังเคราะห์เฮโมโกลบิน และส่งเรติคูโลไซต์จากไขกระดูกออกไปสู่กระแสเลือด
ข้อบ่งใช้
ภาวะเลือดจางจากโรคไตเรื้อรังที่ไม่พบสาเหตุอื่นที่รักษาได้
ผลข้างเคียง
ความดันเลือดสูง
ภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำ ภาวะบวมน้ำ มีไข้
เวียนศีรษะ นอนไม่หลับ ปวดศีรษะ คัน เจ็บตาม ผิวหนัง ผื่นขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง อาหารไม่ย่อย ปวดข้อ ชา ไอ แน่นจมูก หอบเหนื่อย
Blood and Blood Products
เลือดรวม (Whole blood)
เลือดที่เจาะเก็บจากผู้บริจาคโดยตรง บรรจุในถุงปลอดเชื้อ โดย 1 unit มี ประมาณ 350-450 cc มีค่า hematocrit อย่างน้อย 33%
เม็ดเลือดแดงเข้มข้น Packed red cell (PRC)
เลือดที่ปั่นแยกเอา plasma ออก โดย 1 unit มีประมาณ 250 cc มีค่า hematocrit เท่ากับหรือน้อยกว่า 80%
เกล็ดเลือดเข้มข้น Platelet concentrate
มีจำนวนเกล็ดเลือดมาก เม็ดเลือดขาวน้อย มีพลาสม่าบ้างไม่มาก 1 unit มีประมาณ 50 cc มีอายุ ประมาณ 5 วัน เก็บที่อุณหภูมิ 20-24°c และต้องเขย่าตลอดเวลาเพื่อป้องกันการจับกลุ่มกัน
พลาสม่ารวมชนิดแช่แข็ง Fresh frozen plasma (FFP)
สามารถใช้ในภาวะ bleeding ที่มี PT, PTT prolong ได้รับ anticoagulant
(heparin, warfarin) เมื่อให้ PRC จำนวนมากแล้วตรวจพบ PT, PTT prolong หรือในผู้ป่วยโรคตับที่มีปัญหาในการ แข็งตัวของเลือด ขนาดที่ใช้ 10-20 cc/kg จะเพิ่ม coagulation factors ร้อยละ 20-40 ควรให้ FFP กลุ่มเดียวกับเลือดผู้ป่วย
พลาสม่าแยกส่วน Cryoprecipitate
เป็นพลาสม่าที่ได้จากการน า FFP มาละลายแล้วปั่นแยกส่วนได้พลาสม่าส่วนตะกอนปรตีนที่ท าการแยกมาจาก FFP โดย 1 unit มีประมาณ 10-20 cc ใช้เพื่อรักษา hemophilia A, von Willebrand’s disease, factor XIII deficiency หรือภาวะ DIC
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
เม็ดเลือดแดงแตกจากหมู่เลือดที่เข้ากันไม่ได้ (ABO incompatibility)
ปฏิกิริยาที่เกี่ยวกับ WBC, platelet, plasma protein มีอาการไข้ บวมทั่วไปจนถึง anaphylaxis
ปฏิกิริยาที่ไม่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
เมื่อให้เลือดปริมาณมากและเร็วทำให้เกิด pulmonary edema ได้ง่าย
Hemoglobinuria จากเม็ดเลือดแดงเกิด hemolysis ตั้งแต่ในถุงก่อนการให้เลือด
Infection เช่น AIDS, viral hepatitis, malaria, syphilis
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดมากๆ
มีตะคริวตามกล้ามเนื้อหัวใจทำงานผิดปกติ
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย กล้ามเนื้ออ่อนแรงใบหน้ามือและขามีอาการคล้ายเป็นอัมพาต หัวใจอาจหยุดเต้นถ้ามีระดับ K+ สูง เลือดมีความเป็นกรดเพิ่มมากขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
การเตรียมผู้ป่วยก่อนให้เลือด
เจาะเลือดประมาณ 5-10 mL เพื่อตรวจสอบหมู่เลือดและการเข้ากันของเลือดดูความถูกต้องแล้วส่งไปที่ธนาคารเลือด
รับเลือดจากธนาคารเลือด ตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง
ให้เลือดภายใน 4 ชั่วโมงหลังได้รับเลือดจากธนาคารเลือด
ขณะได้รับเลือด
ดูแลให้เลือดไหลสะดวก แขวนถุงเลือดให้ถูกต้องทั้งปริมาณ และอัตราการให้ต่อนาที และไม่ ควรให้นานเกิน unit ละ 4 ชั่วโมง
บันทึกสัญญาณชีพทุกชั่วโมง และสังเกตอาการ โดยเฉพาะ 10-30 นาทีแรกหลังจากให้เลือด
หากมีอาการแทรกซ้อนให้หยุดการให้เลือดทันที
หลังได้รับเลือด
แนะน าผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ ออกก าลังกายตามความเหมาะสม
สังเกตอาการผิดปกติของตนเอง เช่น มีไข้สูง หนาวสั่น มีผื่นขึ้นตามตัว ตัวเหลืองหรือซีด ต่อมน้ำเหลืองโตทั่วร่างกาย ท้องเสีย เป็นต้น ให้รีบรายงานให้แพทย์ทราบทันที