Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7: การจัดการความขัดแย้ง, การกระตุ้นให้เกิดความขัดแย้ง…
-
การกระตุ้นให้เกิดความขัดแย้ง (Stimulating conflict)
กลุ่มนักปฏิสัมพันธ์ (Interactionist) นอกจากจะมองว่าความขัดแย้งเป็นเรื่องธรรมชาติท่ีหลีกเลี่ยงไม่ได้
แล้ว ยังมีแนวคิดว่าองค์การที่มีระดับความขัดแย้งน้อยเกินไปหรือไม่มีเลย ควรได้มีการกระตุ้นให้เกิดมีความขัดแย้ง ข้ึนอยู่ในระดับหนึ่งซึ่งมีผลดีมากกว่าผลเสียในด้านการพัฒนาองค์การ
- การเปลี่ยนวัฒนธรรมขององค์การ
- การเพิ่มแรงกระตุ้นในการแข่งขันการปฏิบัติงาน
- สร้างสถานการณ์ท่ีเสี่ยงหรือไม่แน่นอนให้เกิดข้ึน
- การคัดเลือกผู้บริหารท่ีเหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลง
- การปรับโครงสร้างและบรรยากาศขององค์การใหม
ทักษะที่ต้องฝึกในการแก้ไขความขัดแย้ง
- การลดความเครยี ดได้อย่างรวดเร็ว (Quick stress relief)
2.การตื่นตัว(Emotionalawareness) การรู้สึกตื่นตัวมีประโยชน์คือ:เข้าใจปัญหาของผู้อื่นได้อย่างแท้จริง
เทคนิคการเจรจาลดความขัดแย้ง
- ฟังท้ังเสียงและความรู้สึก (Listen for what is felt as well as said)
- แก้ไขความขัดแย้งอยู่เหนือการเอาชนะ (Make conflict resolution the priority rather than winning or beingright)
- มุ่งเน้นปัจจุบัน (Focus on the present)
4.เลือกสนามทจี่ะต่อสู้(Pickyourbattles)
5.พร้อมใหอ้ภัย(Bewillingtoforgive)
6.รู้เวลาท่ีควรปลอ่ยวาง(Knowwhentoletsomethinggo)