Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Mapping แผนกหลังคลอด, เอกสารอ้างอิง, image, image, นางสาวปนัดดา ทศพิมพ์…
Mapping แผนกหลังคลอด
Hyperbilirubinemia
พยาธิสภาพ
bilirubinเกิดจากการแตกตัวของฮีโมโกลบินซึ่งได้จากเม็ดเลือดแดงที่หมดอายุไขหรือแตกจากการถูกทำลายเป็น Unconjugated bilirubin ซึ่งละลายน้ำไม่ได้ต้องจับกับอัลบูมินในซีรั่มและถูกนำไปที่ตับเกิดการ conjugated ได้เป็น conjugated bilirubin ซึ่งละลายน้ำได้แล้วถูกขับทางน้ำดีและปัสสาวะ แต่เมื่อผ่านลงมาในลำไส้ bilirubinที่ละลายในน้ำอาจถูกย่อยสลายในลำไส้กลายเป็นbilirubinที่ไม่ละลายน้ำใหม่และถูกดูดซึมกลับเข้าสู่กระแสเลือด ทำให้ทารกมีระดับbilirubinในเลือดสูงกว่าปกติ โดยทารกคลอดครบกำหนด จะมีระดับMicrobilirubinไม่เกิน 12 mg/dl ในทารกคลอดก่อนกำหนด จะมีระดับMicrobilirubinไม่เกิน 15 mg/dl
การพยาบาล
3.ดูแลให้ทารกได้รับสารน้ำหรือนมอย่างเพียงพอ เพื่อให้ทารกสามารถขับบิลิรูบินออกทางปัสสาวะและอุจจาระได้
-
-
-
-
-
-
วินิจฉัยโรค
-
การซักประวัติ
ประวัติการคลอด, ประวัติภาวะตัวเหลืองในครรภ์ก่อน, ประวัติการทำแท้งบุตรบ่อยๆ, การติดเชื้อของมารดาขณะตั้งครรภ์
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับบิลิรูบิน, ตรวจนับเม็คเลือด, ตรวจหมู่เลือดและRh
Direct Coomb's test ตรวจ G6PDscreening test
ตรวจพิเศษเฉพาะโรค ตรวจ rubella titer, VDRL titer, ระดับ thyroxin
-
-
Postpartum blue
การพยาบาล
4.แนะนำให้มารดาหลังคลอดรับประทานอาหารที่เหมาะสมเพื่อทดแทนพลังงานที่สูญเสียไปและบำรุงร่างกายให้แข็งแรง
2.ให้ความช่วยเหลือมารดาที่คลอดครรภ์แรก ให้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตนตลอดจนการเลี้ยงดูบุตร
-
-
-
-
-
เป็นสภาวะทางจิตใจที่มารดาหลังคลอดทารก รู้สึกซึมเศร้า เป็นภาวะทีเกิดขึ้นได้ชั่วคราว ไม่รบกวนความสามารถในการดูแลทารก
-
-
เอกสารอ้างอิง
จันทรมาศ เสาวรส . (2562). ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด . ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรินทร์, 9(1), มกราคม-มิถุนายน .
อัญชรา ดอนกลอย . (2558). การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลือง .โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุคินธโร อุทิศ สำนักการแพทย์, 3(3), 18 กันยายน-22 กันยายน .
สุชีรา แก้วประไพ . (2559). การประเมินแนวปฏิบัติในการประเมินภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิดที่โรงพยาบาลคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี . วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24(1), มกราคม-มีนาคม .
คชารัตน์ ปรีชล . (2559). ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด . วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 9(2), กรกฎาคม-ธันวาคม .
แก้วตะวัน ศิริลักขณานันท์ . (2561). บทบาทพยาบาลกับการดูแลแบบองค์รวมในหญิงหลังคลอดที่มีภาวะซึมเศร้า . วารสารพยาบาลทหารบก, 19(1), พฤษภาคม-สิงหาคม .
ภูษิตา ครุฑติลกานันท์ . (2563). เอกสารประกอบการสอนมารดาและผดุงครรภ์ 1. วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี พุทธชินราช .
-
-
-