Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย, การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย,…
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แบบทดสอบ
ปรนัย
ตอบสั้นๆ
ตอบถูก-ผิด
เติมคำ
จับคู่
เลือกตอบ
อัตนัย
กำหนดปัญหา แล้วเขียนตอบ
แบบสอบถาม
แบบสอบถามปลายปิด
ประกอบด้วยข้อความที่กำหนดคำตอบหรือตัวเลือกมาให้ด้วย
มาตราส่วนประมาณค่า
ใช้วัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
แบบบรรยาย
แบบกราฟ
แบบตัวเลข
แบบสอบถามปลายเปิด
เปิดโอกาสให้ผู้ตอบ ตอบแบบสอบถามได้เต็มที่ ข้อเสียคือคำตอบกระจัดกระจาย ยากต่อการวิเคราะห์
โครงสร้างของแบบสอบถาม
ข้อมูลส่วนตัว
ข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา
คำชี้แจง
การสังเกต
คือการทำความเข้าใจเกี่ยวกับบุคคลโดยการใช้ประสาทสัมผัสของผู้สังเกตเฝ้าดูพฤติกรรมต่างๆ ที่บุคคลนั้นแสดงออกมาในลักษณะที่เป็นจริงตามธรรมชาติ
ข้อดี
ได้ข้อมูลที่ไม่สามารถเก็บรวบรวมโดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิคอื่น
ได้ข้อมูลที่เป็นตัวแทนพฤติกรรมในสถานการณ์ต่างๆ
สามารถบันทึกความจริงในเหตุการณ์นั้น
ทำได้ง่าย สะดวก
ข้อเสีย
สิ้นเปลืองเวลา
ข้อมูลไม่ครบ
บางครั้งไม่สะดวก
บางเหตุการณ์กระทำการสังเกตไม่ได้
สัมภาษณ์
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความรู้สึก สนใจ ความคิดเห็น หรือทัศนคติเรื่องต่างๆ
ไม่มีโครงสร้างแน่นอน ผู้ถูกสัมภาษณ์ตอบคำถามได้อิสระ
มีโครงสร้างแน่นอน ได้กำหนดคำตอบไว้แล้ว เช่น ใช่-ไม่ใช่ จริง-ไม่จริง ดี-ไม่ดี
สังคมมติ
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลในกลุ่มเพื่อน และสมาชิกในกลุ่มที่มีความสัมพันธ์กัน
คุณลักษณะของเครื่องมือที่ดี
ความเที่ยงตรง คือ คุณลักษณะของเครื่องมือที่สามารถวัดในสิ่งมที่ต้องการวัดได้ถูกต้อง
ความเชื่อมั่น คือการวัดครั้งแรกเป็นอย่างไร วัดหลายๆครั้งก็ได้ผลคงที่
อำนาจจำแนก สามารถจำแนกผู้ถูกวัดออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ
ความยาก คือสามารถวัดคนเก่งคนอ่อนได้ ข้อสอบยาก คนอ่อนจะตอบไม่ได้
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบ
อิงเกณฑ์
ความยาก
มีค่าตั้งแต่ 0.00 - 1.00
เข้าใกล้ 1 ข้อสอบง่าย
เข้าใกล้ 0 ข้อสอบยาก
อำนาจจำแนก
มีค่าตั้งแต่ -1.00 - 1.00
สำหรับข้อถูกมีค่า 0.2-1.0
สำหรับตัวลวง 0.05 - 0.5
ความเที่ยงตรง
ความเชื่อมั่น
อิงกลุ่ม
ความเที่ยงตรง
อำนาจจำแนก
ความยาก
ความเชื่อมั่น
การตรวจสอบคุณภาพมารตราส่วนประมาณค่า
อำนาจจำแนก
การทดสอบค่าที (t-tast) และสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม
ความเที่ยงตรง ใช้วิธีเดียวกันกับการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบอิงเกณฑ์
ความเชื่อมั่น คอนบราก ได้ดัดแปลงสูตร KR-20 แล้วนำเสนอสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่า
การตรวจสอบคุณภาพการสังเกต
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
พิจารณา 3 ประการ คือ
ความสอดคล้อง ชัดเจน และครบถ้วน
วิธีการสังเกต
ผู้สังเกต มีความรู้ความสามารถมากพอ
ความเชื่อมั่น หลักการ
ผู้สังเกตคนเดียว สังเกตในเวลาต่างกัน
สังเกตหลายคน ในกลุ่มเดียวกัน
การตรวจสอบคุณภาพการสัมภาษณ์
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา
คือ เครื่องมืดวัดได้ตามเนื้อหา และครอบคลุมครบถ้วนตามเนื้อหาที่ต้องการวัด ทำได้โดยให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาตรวจสอบและเสนอแนะ
ความเชื่อมั่น
คือ ความสามารถของเครื่องมือที่สามารถวัดซ้ำๆหลายๆรอบ ก็ยังได้ผลเหมือนเดิม
สัมภาษณ์ซ้ำๆ
สัมภาษณ์หลายคนในหัวข้อเดียว
118 นายนนทวี จุลขันธ์