Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
COVID-19, การรักษาทั่วไป - Coggle Diagram
COVID-19
-
การป้องกัน
- ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ให้ทั่วและนานพอ (ประมาณ 20 วินาที) และเช็ดมือให้แห้ง ถ้าไม่มีน้ำและสบู่ จึงใช้แอลกอฮอล์(60-70 % ซึ่งมักอยู่ในรูปเจล หรือสเปรย์)
- เว้นระยะห่าง จากคนอื่นที่อาจจะแพร่เชื้อ (keep distance)
- ทำความสะอาดสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่อาจปนเปื้อนเสมหะ
น้ำมูก น้ำลาย จากผู้ป่วย และมีไวรัส
- ไม่เอามือจับหน้าปาก จมูก หรือตา ถ้าจำเป็นควรทำมือให้สะอาดก่อน
-
กิจกรรมการพยาบาล
ข้อที่1
1.การให้ออกซิเจน ในภาวะ mild hypoxia ให้ nasal cannula เพิ่ม flow ได้ไม่เกิน 5 LPM ถ้าจะใช้ oxygen mask with reservoir bag ห้ามใช้ระบบที่ทำให้เกิดฝอยละออง (aerosol) แต่หอผู้ป่วยแยกโรคที่มีห้องความดันลบสามารถใช้เครื่องช่วยหายใจชนิด HFNC หรือ NIV ตามผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดหากสภาวะของผู้ป่วยไม่ดีขึ้นภายใน 1-2 ชั่วโมง ต้องพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจให้เร็วที่สุด
2 ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ ซึมลง กระสับกระส่าย หายใจลำบาก ซีดเขียวที่อวัยวะส่วนปลาย ถ้ามีอาการผิดปกติให้รีบรายงานแพทย์
3 ตรวจวัดสัญญาณชีพและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดทุก 1 ชั่วโมงจนกระทั่งค่าอยู่ในระดับปกติจึงตรวจวัดทุก 4 ชั่วโมงหรือตามความเหมาะสม
-
-
-
-
ข้อที่2
- การใช้เครื่องช่วยหายใจโดยใช้หลักการปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจเพื่อป้องกันอันตรายต่อเนื้อปอด เพื่อช่วยลดภาระการหายใจ (work of breathing) ช่วยให้ปอดแลกเปลี่ยนก๊าซได้ดีขึ้น
ฺฺ - prone position การนอนคว่ำเป็นวิธีการรักษาอย่างหนึ่งที่ใช้ในผู้ป่วย severe ARDSจะทำให้มีการไหลเวียนเลือดไปยังปอดมากขึ้น ลด shunt ในปอด ทำให้ปอดที่มี atelec-tasis ขยายตัว
- ประเมินการทำงานของระบบไหลเวียนเลือด (hemodynamic) ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติโดยวัดสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง
- ประเมินการหายใจโดยสังเกตลักษณะการหายใจ อัตราการหายใจ monitor oxygen satuation
- ติดตามผลก๊าซในเลือด ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงรายงานแพทย์
- ให้ข้อมูลแก่ญาติและผู้ป่วยเป็นระยะถึงแผนการรักษาและให้กำลังใจ
ข้อที่3
1 สังเกตอาการทางร่างกาย เช่น ความตึงตัวของผิวหนัง ความชุ่มชื้นของเยื่อเมือกต่างๆ เสียงการเต้นของหัวใจผิดปกติ เสียงหายใจผิดปกติเพื่อประเมินภาวะไม่สมดุลของสารน้ำในร่างกาย
2 สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะน้ำเกิน ได้แก่ อาการบวม หายใจหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ และอาการผิดปกติ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ถ้ามีอาการผิดปกติให้รายงานแพทย์
3 วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมิน ปริมาณเลือดที่มาเลี้ยงไต (renal blood flow) โดย mean arterial pressure ควรสูงกว่า 80 มิลลิเมตรปรอท จะไม่เกิดการขาดเลือดที่ไต (renal tubular ischemia)
-
5 ดูแลให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำอย่างระมัดระวังเรื่องอัตราหยดของสารน้ำโดยให้ผ่านเครื่องปรับหยดสารน้ำ (infusion pump)
-
-
9 แลควบคุมปริมาณโปแทสเซียมใน อาหารตามแผนการรักษา ในระยะที่ปัสสาวะ ออกน้อย เพื่อป้องกันภาวะhyperkalemia โดยดูแลให้รับประทานทานให้น้อยกว่าวันละ 2 กรัม
-
พยาธิสภาพของโรค
โรคโควิด-19 (COVID-19, ย่อจาก Coronavirus disease 2019) เป็นโรคติด เชื้อทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัสโคโรนา ซึ่งมีชื่อทางการว่า SARS-CoV-2 ทำให้เกิด ไข้ ไอ และอาจมีปอดอักเสบ
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ
การรักษา
- พักผ่อนทันทีที่เริ่มป่วย พักผ่อนให้เพียงพอ ให้ร่างกายอบอุ่น กินอาหาร และดื่มน้ำให้เพียงพอ รักษาตามอาการ
- ปรึกษาแพทย์ เพื่อการดูแลรักษา ถ้าเป็นผู้เสี่ยงต่อการที่จะป่วยรุนแรง
- ผู้ป่วยที่มีอาการน้อย สามารถรักษาตัวที่บ้าน ผู้ป่วยที่มีอาการหนัก ต้องรับการรักษาในโรงพยาบาล
-
-