Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A beautiful mind - Coggle Diagram
A beautiful mind
การตรวจสภาพจิต
- ลักษณะทั่วไป (General Appearance)
ผู้ป่วยเป็นชายชาวตะวันตก วัยผู้ใหญ่ตอนต้น รูปร่างสันทัด ผมสีน้ำตาลเข้ม ไม่มัน ไม่มีรังแคผิวขาว ปากแห้งเล็กน้อย เล็บมือและเท้าตัดสั้นสะอาด นั่งกุมมือและบีบมือตัวเองเกือบตลอดเวลา แต่งตัวสะอาด สีหน้าวิตกกังวล แววตาหวาดระแวง ก้มหน้าเป็นส่วนใหญ่
- การเคลื่อนไหว (Psychomotor Activity)
-
- ความสามารถในการรับสัมผัส (Perception)
ผู้ป่วยรับสัมผัสได้ตามปกติ แต่บางครั้งจอห์น แนชพูดคนเดียวเหมือนกำลังสนทนากับใคร สอบถามทราบว่าผู้ป่วยกำลังสนทนากับเพื่อนชื่อชาร์ลส์ ซึ่งผู้ป่วยบอกว่าตอนที่ถูกนำตัวมาที่โรงพยาบาล
ผู้ป่วยเห็นเพื่อนคนนี้เข้ามาในห้องตรวจด้วย เขาเป็นเพื่อนกับชาร์ลส์ตั้งแต่เริ่มเข้าเรียนปริญญาเอก อยู่ด้วยกันมาตลอดแม้จะจบการศึกษาแล้วผู้ป่วยยังมักเห็นเพื่อนคนดังกล่าวมาปรากฏตัวอยู่กับเขาบ่อยๆในสถานการณ์ต่างๆ
- ระดับของการรู้สึกตัว (Conscious)
-
ผู้ป่วยรับรู้วัน เวลา และสถานที่ได้ แต่บอกว่าจิตแพทย์ที่รักษาเขาเป็นสายลับรัสเซีย ผู้ป่วยจึงไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาเท่าที่ควร
ผู้ป่วยมีความจำเฉพาะหน้า (Immediate and Recall memory) ความจำระยะสั้น (Recentmemory) และความจำระยะยาว (Remote memory) เป็นปกติ สามารถจำกลุ่มตัวเลขยากๆยาวๆได้เป็นอย่างดี
- ระดับสติปัญญา (Intelligence)
ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่ตอนต้น จบการศึกษาระดับปริญญาเอก มีความรู้
ความเข้าใจและมีสติปัญญาในระดับอัจฉริยะทางด้านคณิตศาสตร์
- ความตั้งใจและสมาธิ
(Attention&Concentration)
-
เมื่อให้ผู้ป่วยตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ผู้ป่วยตัดสินใจได้ค่อนข้างเหมาะสม แต่คิดช้า และมีท่าทีหวาดระแวงเกือบตลอดเวลา
-
ผู้ป่วยถามตอบรู้เรื่อง โดยจะพูดตะกุกตะกักในบางครั้ง แต่เมื่อพูดถึงเรื่องการเป็นสายลับ การถูกสะกดรอยตามจะพูดรัว เร็ว
-
-
- การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง (Insight)
ผู้ป่วยยอมรับว่าตนเองแตกต่างจากคนอื่น แต่ไม่คิดว่าตนเองเจ็บป่วยทางจิต ที่ตนเองแสดงพฤติกรรมแปลกๆเพราะต้องรักษาความลับทางการทหารเพื่อความมั่นคงของชาติ และที่วิ่งหนีออกมาจากที่ทำงานเพราะมีคนสะกดรอยตามและกำลังจะทำร้ายเขา
- อัตมโนทัศน์ (Self-concept)
ผู้ป่วยภาคภูมิใจในความสามารถของตนเอง ที่เรียนจบปริญญาเอกทางด้านคณิตศาสตร์และได้รับรางวัลจากผลงานชื่อ “Nash Equilibrium” ภูมิใจที่มีภรรยาที่สวย เก่ง และเป็นคนดี
ผู้ป่วยเชื่อว่าเพราะเขามีความสามารถในการถอดรหัสตัวเลขจึงต้องมาทำงานเป็นสายลับซึ่งเป็นภารกิจในการช่วยเหลือประเทศชาติ
สาเหตุ
-
-
-
เพศและอายุ สามารถเกิดได้ทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย แต่ผู้ชายจะเกิดในช่วงอายุระหว่าง 15-25 ปี ผู้หญิงจะเกิดในช่วงอายุระหว่าง 25-35 ปี
-
พัฒนาการตามช่วงวัย
วัยเด็ก
จอห์นเป็นเด็กเรียนเก่ง ชอบทำอะไรด้วยตนเอง แต่เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน ผู้ป่วยชอบอยู่คนเดียว เนื่องจากรู้สึกว่าเพื่อนชอบแกล้งเขาเพราะเห็นว่าเขาเก่งกว่าฉลาดกว่า ผู้ป่วยไม่ชอบกิจกรรมนันทนาการแต่มีความสนใจทางด้านวิทยาศาสตร์และทำการทดลองด้วยตนเองตั้งแต่อายุ 12 ปี
วัยรุ่น
จอห์นสนใจทางด้านคณิตศาสตร์และมุ่งมั่นในการเรียนจนจบปริญญาโท ตอนอายุ 20 ปี จอห์นเริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัดโดยยังคงเป็นคนเก็บตัวและไม่มีเพื่อนสนิท
จอห์นเข้าเรียนปริญญาเอกที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและมีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะเขาเริ่มมีความคิดว่านักคณิตศาสตร์มีความสำคัญต่ออนาคตของอเมริกาและในช่วงเดียวกันนั้นจอห์นพบว่ามีเพื่อนรูมเมทคนหนึ่งชื่อชาร์ลส์ (Mr. Charles) ได้มาชวนพูดคุยในสถานการณ์ต่างๆให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อน ช่วงที่จอห์นเริ่มมีความคิดหมกมุ่นและมีพฤติกรรมแปลก ๆ เพิ่มมากขึ้น
วัยผู้ใหญ่
จอห์นทำงานที่วีลเลอร์แลปส์และงานสายลับ ซึ่งพบว่าชาร์ลส์ยังมาปรากฏตัวอยู่กับเขาหลายสถานการณ์บางครั้งยังมีหลานสาวตามมาด้วยโดยชาร์ลส์เป็นเพียงคนเดียวที่จอห์นสามารถพูดคุยเรื่องราวต่างๆด้วยได้ จอห์นเริ่มสร้างห้องทำงานลับที่ใช้ทำงานสายลับถอดรหัสจากนิตยสารต่างๆต่อมาจอห์นมีแฟนและตัดสินใจแต่งงานกันในที่สุด
วัยสูงอายุ
จอห์นสามารถควบคุมตัวเองและอยู่กับภาพหลอนนั้นได้ เขาจึงได้รับการยอมรับจากอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยพรินซ์ตันและได้รับรางวัลโนเบลจากทฤษฎีสมดุลระบบ ที่เขาพัฒนาตั้งแต่เป็นนักศึกษา
ข้อมูลทั่วไป
อาการสำคัญ
1 วันก่อนมาโรงพยาบาลหวาดระแวงว่ามีคนสะกดรอยตามจะมาทำร้ายวิ่งหนีด้วยความหวาดกลัวออกจากที่ทำงานเพื่อนร่วมงานจึงนำส่งโรงพยาบาลจิตเวช
-
ชื่อผู้ป่วย นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.) อายุ 24 ปี เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
การวินิจฉัย
DSM-5
A. มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป นาน 1 เดือน และต้องมีอย่างน้อย 1 อาการในข้อ 1, 2, หรือ 3
-
-
การพูดจาสับสน เนื่องจากไม่สามารถรวบรวมความคิดให้เป็นระบบได้ เช่น ตอบไม่ตรงคำถาม (Disorganized speech)
พฤติกรรมที่ผิดปกติไปจากเดิมมากหรือมีพฤติกรรมแบบ catatonic (Grossly disorganized or catatonic behavior)
ตั้งแต่ ทำตัวบ้าๆบอๆแบบเด็ก หรือก้าวร้าวรุนแรงได้; catatonic behavior คือ การไม่เคลื่อนไหวตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม อาจต่อต้านเมื่อจับให้เคลื่อนไหว (negativism) อาจมีรูปแบบการเคลื่อนไหวซ้ำๆ แข็งทื่อ ทำหน้าตาบูดเบี้ยว ไม่พูดหรือพูดเลียนคำพูดคนอื่น
-
-
C. มีอาการโรคจิตต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยอย่างน้อยต้องมีช่วงที่มีอาการตรงตามเกณฑ์ข้อ A อย่างน้อย 1 เดือน
-
กรณีศึกษา
A. มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่ 2 อาการขึ้นไป นาน 1 เดือน และต้องมีอย่างน้อย 1 อาการในข้อ 1, 2, หรือ 3
-
-
-
-
-
-
-
-