Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบเลือด - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบเลือด
ยาห้ามเลือดและทำให้เลือดเเข็งคัว
Tranexamic acid
กลไกลการออกฤทธิ์ ยับยั้งการสลายตัวของไฟบริน โดยยาจะเข้าจับที่ fibrin biding site บน plasminogen ทำให้โครงสร้างของไฟบรินคงตัว
ข้อบ่งใช้ ป้องกันภาวะที่มีเลือดออกผิดปกติขณะผ่าตัด ป้องกันและทุเลาเลือดในผู้ป่วย Hemophilia
ผลข้างเคียง มีลิ่มเลือดอุตัน โดยสามารถเกิดได้ทั้งหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดำ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเดิน การให้ยาทางIVเร็วเกินไปจะทำให้เกิด Hypotension อาจทำให้การมองเห็นผิดปกติ
Vitamin k
กลไกการออกฤทธิ์ เป็น cofactor ที่จำเป็นในการสร้าง coagulation factor
ข้อบ่งใช้ ได้รับยาห้ามการแข็งตัวของเลือดประเภท warfarin เกินขนาด ภาวะขาด vitamin k ซึงมีความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด ภาวะprothrombinต่ำ เนื่องจากภาวะเป็นพิษจากsalicylate
ผลข้างเคียง หลังจากฉีดเข้าทางเส้นเลือดดำ จึงควรจำกัดอยู่เฉพาะในภาวะฉุกเฉินเท่านั้น และผู้ป่วยต้องอยู่ในความดูแลอย่างใกล้ชิด
Medications affecting coagulation
ยาหรือสารที่เปลี่ยนแปลงกระบวนการแข็งตัวของเลือด ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด หรือละลายลิ่มเลือดที่เกิดขึ้น
เป้าหมายในการใช้ยา
ทำให้เลือดไหลเวียนได้ตามปกติ
ลดความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นจากผลของลิ่มเลือดที่ไปอุุดตัน ป้องกันความเสียหายของอวัยวะต่างๆ
Anticoagulant Drugs ยาต้านการแข็งตัวของเลือด
warfarin (oral) จัดเป็นยา narrow therapcindex ยับยั้งการเกิดลิ่มเลือด รับประทานvitamin k ไม่เพียงพอส่งผลให้เลือดไหลไม่หยุด
direct thrombin inhibitor จับกับ thrombin lepirudin เป็นยาที่เมื่อกินเข้าไปยังไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ต้องใช้เอนไซม์ที่อยู่ในเลือด ตับถึงออกฤทธิ์ได้ระวังในผู้ป่วยโรคติดตาม
unfractionated haparin ออกฤทธิ์ได้อย่างรวดเร็วในการลดการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือดโดยจับกับ antithrombin ไปยับยั้ง trombin & Xa
Antiplatelet drugs ยาต้านการเกาะกลุ่มกันของเกล็ดเลือด
Cox-1 ibhibitor- aspirin ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด โดยยับยั้งcox-1 ADR.เลือดออกในทางเดินอาหาร
ADR/P2y12 receptor antagonist ADR เลือดออกในทางเดินอาหาร เกิดผื่น ท้องเสีย
Growth factors
เป็นกลุ่มของสารโปรตีนโพลีเปป์ไทด์ ที่มีคุณสมบัติในการกระตุ้นหรือเหนี่ยวนำให้เกิดการแบ่งตัวและเพิ่มจำนวนเซลล์ โดยกลุ่มของสารกระตุ้นการเจริญอีกกลุ่มที่ทำหน้าที่ในการกระตุ้นการเจริญของเซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ
Biological name -erythropoietin
ยาepotin จัดเป็นยาในกลุ่ม erythropoiesis stimulating agent
Epoetin ทำหน้าที่กระตุ้นการแบ่งตัวและการพัฒนาของเซลล์ต้นกำเนิดในไขกระดูกไปเป็นเม็ดเลือดแดง และทำหน้าที่กระตุ้นการสังเคราะห์เฮโมโกลบิน และส่งเรติคูโลไซต์จากไขกระดูกออกไปสู่กระเเสเลือด
ข้อบ่งใช้ ใช้สำหรับภาวะเลือดจากโรคไตเรื้องรังที่ไม่พบสาเหตุอื่นที่รักษาได้
เพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต การอุดกั้นหลอดเลือดแดงเป็นเหตุให้เกิดโรคของหัวใจและหลอดเลือดที่ร้ายแรง
ผลข้างเคียง ความดันเลือดสูง ภาวะลิ่มเลือดอุดหลอดเลือดดำ เวียนศีรษะ อาเจียน ท้องร่วง อาหารไม่ย่อย ปวดข้อ ขา ไอ แน่นจมูก หอบเหนื่อย
Blood and blood products
เลือดรวม คือเลือดที่เจาะเก็บจากผู้บริจาคโดยตรง สามารถให้เพื่อเพิ่มได้ทั้ง blood volume และ RBC โดยต้องให้เลือดหมู่เดียวกับผู้ป่วย จึงแยกเก็บเพื่อเป็นส่วนประกอบต่างๆ ของเลือดให้เหมาะสมกับการใช้งานในผู้ป่วยแต่ละคนต่อไป
เม็ดเลือดแดงเข้มข้น คือเลือดที่ปั่นแยกเอา plasma ไม่ควรผสมprc กับสารน้ำที่มี Ca2+ เพราะทำให้เกิดลิ่มเลือดได้ สามารถให้ในภาวะซีดจากสาเหตุต่างๆ
เกล็ดเลือดแดงเข้มข้น มีจำนวนเกล็ดเลือดมาก ควรให้กลุ่มเดียวกับเลือดของผู้ป่วย มิฉะนั้นจะทำให้ platelet มีอายุสั้น
พลาสม่ารวมชนิดแช่แข็ง สามารถใช้ในภาวะ bleeding ที่มี PT,PTT prolong ได้รับ anticoagulant เมื่อให้ prc จำนวนมากแล้วตรวจพบหรือในผู้ป่วยโรคตับที่มีปัญหาในการแข็งตัวของเลือด
พลาสม่าแยกส่วน เป็นพลาสม่าที่ได้จากการนำFFP มาละลายแล้วปั่นแยกส่วนได้พลาสม่าส่วนตะกอนซึ่งมี factor ในการแข็งตัวของเลือด
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือด
ปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นจากภูมิคุ้มกัน
เม็ดเลือดแดงแตกจากหมู่เลือดที่เข้ากันไม่ได้ โดยจะมีอาการ ไข้ หนาวสั่น เจ็บหน้าอก ปวดหลัง คลื่นไส้ ความดันเลือดต่ำ
ปฎิกิริยาที่ไม่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกัน
เมื่อให้เลือดปริมาณมากและเร็ว ทำให้เกิดpulmonary edema ได้ง่าย ไอ หอบเหนื่อย หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง
ภาวะแทรกซ้อนจากการให้เลือดมากๆ
มีตะคริวตามกล้ามเนื้อ หัวใจทำงานผิดปกติ มีการสะสมของสารกันการแข็งตัวของเลือด ทำให้แคลเซียมลดลง
คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง ใบหน้า มือและขา มีอาการคล้ายเป็นอัมพาต
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับเลือด
1.การเตรียมผู้ป่วยก่อนให้เลือด
2.ขณะได้รับเลือด ดูแลให้เลือดไหลสะดวก บันทึกสัญญาณชีพทุกชั่วโมง และสังเกตอาการ
หากมีอาการแทรกซ้อน ให้หยุดการให้เลือดทันที
3.หลังได้รับเลือด แนะนำผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ สังเกตอาการผิดปกติของตนเอง