Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A BEAUTIFUL MIND, สีเหลือง = กรณีศึกษา, สีเขียว = ทฤษฎี, นางสาวตริตาภรณ์…
A BEAUTIFUL MIND
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
เกิดจากสารสื่อประสาทในสมองทำงานผิดปกติ
ผู้ป่วยมีความผิดปกติทั้งความคิด
การรับรู้ที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง
อาการ
พบได้บ่อยมี 5 อาการ
3.การพูดจาไม่สัมพันธ์หรือไม่ปะติดปะต่อหรือมีการกันพูดหลายเรื่องมารวมกัน
มีลักษณะท่าทางที่พูดตะกุกตะกัก ฟังไม่ลื่นหู
2.ประสาทหลอน
ที่พบบ่อยคือหูแว่ว
หูเเว่วได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำอะไรต่าง
บางคนมองเห็นผิดเพี้ยนไป
มองเห็นชายชุดดำ เพื่อนของตนเอง เเละหลานของเพื่อน
1.หลงผิด
ผู้ป่วยคิดว่าตนเองมีอำนาจลึกลับ
ส่งกระแสจิตได้ หรือเป็นผู้วิเศษ
คิดว่าตนเองเป็นสายลับ
สามารถถอดรหัสจากภาพหรือตัวเลขได้
คิดว่าตนจะถูกทำร้ายจากเหตุการณ์ต่างๆ
4.มีพฤติกรรมถดถอย
แสยะยิ้ม แต่งตัวแปลกประหลาด แยกตัวเองออกจากสังคม หรืออยู่ในท่าทางแปลกๆ ทำอะไรเป็นพิธีกรรมไปหมด
ไม่มีเพื่อน อยู่คนเดียวเเยกตัวออกกจากสังคม
หวาดระเเวง กระสับกระส่าย มองซ้ายขวา
5.อารมณ์เปลี่ยนแปลง
สีหน้าทื่อๆ ไม่แสดงอารมณ์ เฉยเมย
บางคนแสดงอารมณ์ไม่เหมาะสมกับสถานการณ์
สีหน้าเรียบเฉย ไม่เเสดงอารมณ์
การรักษา
ยารักษาโรคจิต
ระยะควบคุมอาการ
ให้เนื่องจากจอห์นมีอาการที่กำเริบ เช่น กระสับกระส่าย วุ่นวาย ควรได้รับยาที่ทำให้อาการสงบลงโดยเร็ว
ผลข้างเคียง
มือสั่น ทำอะไรช้าลง
จอห์นมีพฤติกรรมที่ทำอะไรช้าลง
ระยะให้ยาต่อเนื่อง
จอห์นได้รับยาเนื่องจากป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำหรือมีอาการกำเริบขึ้นอีก หลังจากรักษาตัวที่โรงพยาบาล
ในเคสกรณีศึกษาจอห์นได้หยุดการกินยาทำให้อาการกำเริบอีกครั้ง
ผลข้างเคียง
นอนไม่ค่อยหลับ
จอห์นมีอาการนอนไม่หลับ
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ได้รับการรักษาอาทิตย์ละ 5 ครั้งทั้งหมด 10 อาทิตย์
ได้รับการรักษาเนื่องจากจอห์นมีพฤติกรรมทำร้ายตนเองเข้าใจว่าชิปที่ฝังในร่างกายหายไป อยู่ไม่เป็นสุข
การดูแลรักษาด้านจิตใจและสังคม
การช่วยเหลือด้านจิตใจ
ผู้ป่วยไม่ทราบว่าจะต้องปฏิบัติตัวอย่างไรกับปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งปัญหาตนเองและปัญหากับคนรอบข้าง ควร
ให้คำแนะนำที่ผู้ป่วยสามารถนำไปปฏิบัติได้ เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีความคิดในการเเก้ปัญหา
การให้คำแนะนำแก่ครอบครัว
ให้ความรู้แก่ญาติและผู้ดูแลผู้ป่วย เกี่ยวกับเรื่องของโรคและปัญหาต่างๆ เพื่อไม่ให้ครอบครัวโทษตนเองเเละกดดันผู้ป่วย
กลุ่มบำบัด
ฝึกทักษะทางสังคม เน้นการสนับสนุนให้กำลังใจแก่กัน
เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกว่ามีคนเข้าใจเเละมีเพื่อน
นิเวศน์บำบัด
ให้ผู้ป่วยต้องช่วยในกิจกรรมต่างๆเท่าที่พอทำได้ เพื่อส่งเสริมความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองของผู้ป่วย
จากกรณีศึกษามีความต้องการเลี้ยงดูเเลบุตรบ้าง
ควรส่งเสริมไม่ให้จอห์นรู้สึกด้วยค่า เเต่ควรดูเเลอย่างไกล้ชิด
ประวัติของจอห์น
วัยรุ่น
มีความสนใจด้านวิทยาศาสตร์ อยากเก่งเเละคิดค้นเเนวคิดทฤษฎีได้
ไม่มีเพื่อน ไม่ชอบคนอื่นเเละเข้าใจว่าคนอื่นไม่ชอบตนเอง
เป็นคน เก่ง มีไหวพริบ คล่องเเคล่ว
คิดว่าตนเองมีปมด้อย อยากมีค่า
วัยผู้ใหญ่
ยังคงเเยกตัวออกจากผู้อื่น บอกว่าตนเองรักสันโดด
มีพฤติกรรมที่ต่างออกไปจากเดิม
ไม่ไปทำงานหรือออกจากงานไม่ตรงตามเวลาเดิมที่เคยเป็น
มีความหวาดระเเวง กังวลอย่างเห็นได้ชัด
มีความตั้งใจเรียนค้นหาเเนวคิดทฤษฎีมากขึ้น
สีเหลือง = กรณีศึกษา
สีชมพู = ทฤษฎี
สีเขียว = ทฤษฎี
สีเหลือง = กรณีศึกษา/เหตุผล
นางสาวตริตาภรณ์ ผลมะขาม เลขที่ 27 ห้อง 3A รหัส 62123301044
อ้างอิง
กรมสุขภาพจิต.(2563).5 อาการเด่นจิตเภท รีบพบแพทย์มีโอกาสหายขาด.
สืบค้นวันที่ 13 กันยายน 2564, จาก
https://www.dmh.go.th/news-dmh
มาโนช หล่อตระกูล.(2561).โรคจิตเภท.สืบค้นวันที่ 13 กันยายน 2564,
จาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental