Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A beautiful mind - Coggle Diagram
A beautiful mind
-
ประวัติ
ชื่อ นายจอห์น ฟอบส์ แนส จูเนียร์ อายุ 24 ปี เพศ ชาย เชื้อชาติ อเมริกัน สัญชาติ อเมริกัน อาชีพ อาจารย์สอนวิชาคณิตศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์
ที่ Princeton university น้องสาว 1 คน ภรรยาชื่อ อลิเซีย มีบุตรชาย 1 คน
จอห์นและอลิเซียอาศัยอยู่ที่เมือง Princeton รัฐ New jersey ฐานะทางครอบครัว ยากจน
จอห์นชอบและสนใจในคณิตศาสตร์ เมื่อปี 1994 ได้รับรางวัลโนเบล และเกิด Nash’s theories ทำให้มีอิทธิพลต่อการต่อรองทางการค้้าทั่วโลก แรงงานสัมพันธ์แห่งชาติและความก้าวหน้าในทางชีววิทยา
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
2 ปีก่อนมาโรงพยาบาล เขาทำงานเป็นนักคณิตศาสตร์ ที่ วีลเลอร์แลปส์ เขาถูกเจ้าหน้าที่กระทรวงกะลาโหมสหรัฐอเมริกาเรียกตัวไปช่วยถอดรหัสทางการทหาร เขาได้ทำงานอย่างลับๆ จนกระทั่งพบว่า มีคนสะกดรอยตามเขาอยู่ตลอด และพยายามจะทำร้ายเขา ผู้ป่วยกลัวถูกทำร้ายมาก แต่พยายามเก็บเป็นความลับ ไม่ให้ใครรู้เนื่องจากเขาทำงานเป็นสายลับ แต่ภรรยาก็ไม่ทราบเรื่องนี้มาก่อน
1 วันก่อนมาโรงพยาบาล เขาเห็นกลุ่มคนสะกดรอยตามเขาไปถึงที่ทำงาน เขารู้สึกกลัวมากจึงวิ่งหนี จนกระทั่งถูกนำส่งโรงพยาบาล
ความสัมพันธ์
ครอบครัว: ไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวให้ภรรยารับรู้ เริ่มไม่ต้องการมีเพศสัมพันธ์กับภรรยา
สังคม : มีปัญหาด้านการปรับตัว เข้าสังคมไม่เก่ง ไม่ค่อยชอบคนอื่น และคนอื่นก็ไม่ชอบเขาเช่นกัน ปฏิเสธการทำงานร่วมกับผู้อื่น
-
การรักษา
การรักษาด้านจิตสังคม
-
คนใกล้ตัวช่วยดูแลการรับประทานยาของผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มักมีความเข้าใจว่าตนเองไม่ป่วย จึงไม่ค่อยร่วมมือรับประทานยา
เป็นส่วนสำคัญของการรักษา เนื่องจากอาการของผู้ป่วยมักก่อให้เกิดปัญหาระหว่างตัวเขากับ
สังคมรอบข้างแม้ในระยะที่อาการดีขึ้นแล้วปัญหาทางด้านสังคมก็ยังคงมีอยู่
การรักษาด้วยยา
เพื่อปรับสารสื่อประสาทในสมองทางความคิดและพฤติกรรมที่ขาดสมดุล ให้กลับมาสมดุลจึงจะทำให้ความคิดและพฤติกรรม กลับมาเป็นปกติ ตรงตามความเป็นจริงมากขึ้น ดังนั้นการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอจึงเป็นสิ่งสำคัญ
-
-
การรักษาด้วยไฟฟ้า
-การใช้กระแสไฟฟ้าจากเครื่องผ่านแผ่นอิเลคโทรด ซึ่งวางตรงบริเวณขมับ (Temporal)เข้าสู่สมองในเวลาที่กำหนด
เพื่อไปกระตุ้นสมองทำ ให้เกิดการชักเกร็งทั่วร่างกายที่เรียกว่า Generalized Seizure หรือ
Tonic-Clonic Convulsion คือการชักแบบโรคลมชัก มีอาการเกร็งกระตุกไปทั้งตัว
ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีทั้งเพิ่มมากขึ้นและลดน้อยลงโดยไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างทางกายวิภาคของสมองทำให้เกิดอาการทางจิตบางอย่างดีขึ้น
-
-
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
-
ระยะที่มีอาการ
-
- เสี่ยงต่อการได้รับอันตรายจากผลข้างเคียงของยาและอาจหลีกเลี่ยงการกินยา เนื่องจากกลัวผลข้างเคียงจากการรับประทานยา
การพยาบาล
- ในกรณีที่ผู้ป่วยปฏิเสธการรักษา พยาบาลควรสร้างสัมพันธภาพเชิงรักษากับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความไว้วางใจ อาจให้ญาติช่วยเกลี้ยกล่อมเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ในขนาดที่เหมาะสมสำหรับผู้ป่วย เช่น Largactil ให้รับประทานยา 25 - 100 mg วันละ 3 ครั้ง อาจเพิมขนาดยาได้ถึง 1 gm หรือ
มากกวาตามแพทย์สั่ง และยา Diazepam โดยให้ 2-40 mg/วัน
- เฝ้าระวังและสังเกตอาการข้างเคียงของยาที่่ผู้ป่วยได้รับ คือ Largactil หรือThorazine ได้แก่ กลุ่มอาการ EPS หรือ (Extrapiramidal side effec) เช่น
6.1 อาการ ดิสโทเนีย ( Acute Dystonia) อาการที่พบคือ มีอาการเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง ในบริเวณคอ หลอดลม ลิ้น ปาก และลูกตา ทำให้ลำคอบิด ลูกนัยต์ตาเหลือกขึ้นข้างบน ลิ้นแลบออกมานอกปาก อาการนี้มักเกิดในช่วง 1-5 วันแรกของการใช้ยา
6.2 อาการ อะคาทีเซีย (Akathisia) อาการที่พบคือ กระสับกระส่าย นั่งไม่ติดหรืออยู่นิ่งไม่ได้ มีการเคลื่อนไหวซ้ำๆ อาการนี้มักเกิดจากการใช้ยาแล้วประมาณ 50-60 วัน
6.3 อาการเหมือนพาร์กินสัน (Parkinson like syndrome) อาการที่พบคือ มีอาการกล้ามเนื้อเกร็ง ท่าเดินแบบซอยเท้า การเคลื่อนไหวช้าไร้อารมณ์ มีน้ำลายไหล
- ก่อนการได้รับยาควรตรวจสอบสัญญาณชีพ โดยเฉพาะอัตราการหายใจของผู้ป่วยในรายที่ได้รับยา Diazepam และตรวจสอบระดับความรู้สึกตัว เนื่องจากอาจเกิดภาวะ CNS depress จะมีอาการหลับลึก และไม่รูู้สึกตัว
- ให้คำแนะนำผู้ป่วยหลังจากได้รับยากลุ่ม Antipsychotic drugs คือ ให้เคลื่อนไหวช้า ๆ หรือให้ผู้ป่วยเปลี่ยนท่าช้าๆ จากท่านอนเป็นท่านั่งหรือท่ายืน เนื่องจากมีโอกาสเกิดภาวะ Postural hypotension
- เฝ้าระวังอาการ Narcoleptic malignant syndrome (NMS) เป็นอาการที่พบไม่บ่อย โดยมีอาการสำคัญคือ การเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง มีไข้สูง หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตไม่คงที่ มีปัสสาวะน้อย การทำงานของร่างกายในระบบต่างๆล้มเหลวและเสียชีวิตได้
-
-
กลไกทางจิต
-
-
Projection
การรับรู้และแสดงการตอบกลับจากสิ่งกระตุ้นภายในที่ยอมรับไม่ได้ ปฏิกิริยานี้ส่งผลต่อภายนอกตัวตน ของบุคคลเหล่านั้น
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยบอกว่าเขาไม่ชอบคนอื่น คนอื่นก็ไม่ชอบเขาเป็นการคิดเองของผู้ป่วยเพื่อลดความวิตกังวล
Displacement
-
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยเสียใจและโมโหที่ผลงานของตนเองไม่ได้ถูกรับเลือก จึงทำลายโต๊ะทำงานตนเองเพื่อระบายความเสียใจและความโกรธ
Identification
การที่นำเอาบุคคลิกภาพ ลักษณะทางความคิด อารมณ์ของผู้อื่นมาเป็นแบบอย่างสำหรับตนเองนำไปปฏิบัติเอามาเป็นบุคคลิกภาพประจำตัวโดยที่ตนเองไม่ได้ตั้งใจ
-
-
Aggressive
การไม่สามารถทนต่อความรู้สึก ก้าวร้าวของตนที่มีต่อคนที่นับถือและความก้าวร้าวนั้นกลับเข้าหาตนเอง คือทำร้ายตนเอง
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยพยายามกรีดแขนของตนเองเพื่อหาสิ่งที่ตนเองคิดว่าฝังอยู่ภายในแขน เพื่อให้ผู้อื่นเชื่อว่าสิ่งที่ตนเองคิดนั้นเป็นความจริง คิดว่าตนเองเป็นสายลับ และมีการฝังเลขอยู่ภายในแขนของตน
-
-
-
Resistance
-
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาโดยการไม่กินยา เนื่องจากผลข้างเคียงของยาทำให้ผู้ป่วยมีการแสดงความรู้สึกน้อยลง จิตไร้สำนึกจึงทำให้ผู้ป่วยเกิดความกังวล และไม่กินยาตามมา
Dream
เป็นขบวนการซึ่งเกิดจากความต้องการอันเป็นความขัดแย้งภายในจิตใจ หรือไม่เป็นที่ยอมรับในเวลาตื่น ได้รับการตอบสนองขณะหลับในลักษณะของความฝันถึงสิ่งที่ต้องการนั้น หรือสัญญลักษณ์ของสิ่งนั้น
Fantasy
เป็นขบวนการทางจิต โดยการสร้างเรื่องราวขึ้นในจิตใจเพื่อตอบสนองความต้องการของตน อันไม่ได้รับการตอบสนองในความเป็นจริง
จากกรณีศึกษา ผู้ป่วยได้พยายามสร้างเพื่อนในจินตนาการ เพื่อตอบสนองความต้องการของตนเองเนื่องจากตนเองเป็นคนไม่มีเพื่อน ไม่ค่อยคบหากับใคร เป็นคนเก็บตัว
Symbolization
เป็นขบวนการทางจิตใจ โดยการใช้ของสิ่งหนึ่งแทนของอีกสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นสิ่งต้องห้ามหรือไม่เป็นที่ยอมรับของสังคม ของที่ใช้แทนกันนี้มีลักษณะคล้ายหรือเป็น สัญญลักษณ์ที่รับรู้กันทั่วไปกับของอีกสิ่งที่กล่าวนั้น
Compensation
เป็นกลไกของจิต ซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเสริมความไม่สมบูรณ์ของตัวเอง ในด้านร่างกาย บุคลิกภาพ หรือสติปัญญา โดยการเสริมสร้างลักษณะส่วนอื่นของตนให้ดีเด่นขึ้น
-
-
-
-