Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารความขัดแย้ง และสันติวิธี - Coggle Diagram
การบริหารความขัดแย้ง และสันติวิธี
การบริหารความขัดแย้ง
กระบวนการของความขัดแย้ง
ตั้งใจทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
พฤติกรรมที่แสดงออกมาและ
ฝ่ายที่เกี่ยวข้องรับรู้ถึงความขัดแย้ง
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
ก่อตัวของการต่อต้าน หรือความไม่ลงรอยที่รุนแรงพอ
ประเภทความขัดแย้ง
ความขัดแย้งภายในกลุ่ม (group conflict)
ความขัดแย้งระหว่างกลุ่ม (between-group conflict)
.ความขัดแย้งระหว่างบุคคล (interpersonal conflict)
ความขัดแย้งในตนเอง (personal conflict)
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์
เป้าหมายการทำงาน
บทบาทไม่ชัดเจน
อำนาจ
การเปลี่ยนแปลง
ผลของความขัดแย้งในด้านบวก
นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในเชิงสร้างสรรค์
เกิดความสามัคคีในกลุ่ม
ทำให้บุคลากรในองค์กรเกิดแรงจูงใจในการทำงาน
เกิดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเป้าหมายเดิมขององค์กร
สมาชิกในองค์การได้มีการแลกเปลี่ยนความรู้
องค์การมีการปรับตัวให้เข้ากับความ เปลี่ยนแปลงในสังคม
มีการเลือกตัวแทนที่เข้มแข็ง มีความรู้ ความสามารถเป็นผู้นำ
ทำให้เกิดแนวทางแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เป็น ประโยชน์
ลดความตึงเครียดในองค์กร
ณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากร ในองค์กรดีขึ้น
ธรรมชาติของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งเมื่อไม่สามารถตกลงกันได้
การขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติ
ผลของความขัดแย้งในทางลบ
มุ่งเอาชนะกันมากกว่าที่จะมองถึงผลกระทบ
เกิดการสูญเสียทรัพยากรและเวลา
ไร้ซึ่งเสถียรภาพขององค์กร
เกิดความตึงเครียด
เกิดความแตกแนก
ความหมาย
กระบวนการแก้ไขปัญหาเพื่อแก้ไขปัญหาเชิงลบและเพิ่มความคิดเชิงบวก
หลักการสำคัญเกี่ยวกับการบริหารความขัดแย้ง
การให้ความช่วยเหลือ
การแข่งขัน
การหลบหลีกความขัดแย้ง
การให้ความร่วมมือ
สันติวิธี
ความหมาย
วิถีแห่งการดำเนินชีวิต ซึ่งมีรากฐานมาจากการจัดการปัญหาความ ขัดแย้งในสัมพันธภาพของมนุษย์ ไม่ว่าในระดับปัจเจกหรือกลุ่มบุคคล เป้าหมายของสันติวิธีคือ การใช้ประโยชน์จากขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และค่านิยมของชุมชน เพื่อเปลี่ยนความขัดแย้งนั้นมาสู่สัมพันธภาพ
รูปแบบสันติวิธี
การเจรจาไกล่เกลี่ยโดยคนกลาง
กระบวนการนิติบัญญัติ
การใช้อนุญาโตตุลาการ
การเจรจาไกล่เกลี่ยข้ามวัฒนธรรม
การเจรจาต่อรอง
การสานเสวนา
ไม่ให้ความร่วมมือ
อารยะขัดขืน
การไต่สวน