Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 สภาพแวดล้อมในการทำงาน ที่อาจก่อให้เกิดอันตราย, นางสาวจุไรรัตน์…
บทที่ 4
สภาพแวดล้อมในการทำงาน
ที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
ความมหมาย
สิ่งคุกคาม คืออะไรก็ตามที่สามารถก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพได้
สิ่งคุกคามมีอยู่รอบตัวเราทุกคน ทั้งในที่ทำงานและในสิ่งแวดล้อม
หากพิจารณาอย่างถ้วนถี่แทบจะกล่าวได้ว่าของทุกสิ่งทุกอย่างใน
โลกสามารถที่จะเป็นสิ่งคุกคามต่อสุขภาพได้ทั้งหมด
สิ่งคุกคามอาจอยู่ในรูปสสาร พลังงาน หรือเป็น
สภาวการณ์บางอย่างก็ได้
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านเคมี
การแบ่งอนุภาคของสารเคมีตามรูปร่างและลักษณะทากายภาพ
ฝุ่น (Dust)
ฟูม(Fume)
ควัน (Smoke)
ละออง (Mist)
ก๊าซ (Gas)
ไอระเหย (Vapor)
ลักษณะอันตรายของ
สารเคมีที่เกิดขึ้นกับผู้ปฏิบัติงาน
การระคายเคือง (Irritant)
การขาดออกซิเจน (Asphyxiants)
การเกิดพิษต่ออวัยวะในร่างกาย (Effect to Target Organ)
มะเร็ง (Cancer)
ทารกพิการแต่
กำเนิด (Teratogenic)
และการผ่าเหล่า
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านชีวภาพ
หมายถึง สภาพแวดล้อมที่เกิดจากการสัมผัสอันตรายทางด้าชีวภาพหรือสิ่งมีชีวิตแล้วทeให้เกิดการก่อโรคหรือการเจ็บป่วยเกิดขึ้นมา
อันตรายทางด้านชีวภาพสามารถแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม
จุลินทรีย์และพิษของจุลินทรีย์
สัตว์เลื้อยคลาน
และแมลงกัดต่อย
สารที่ทำให้เกิดการแพ้และพิษจากพืชชั้นสูง
โปรตีนจากสัตว์มี
กระดูกสันหลังที่ทำให้เกิดการแพ้
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้ายกายภาพ
หมายถึง สภาพแวดล้อมที่อยู่
ในพื้นที่การทำงานโดยผู้ปฏิบัติงานสามารถสัมผัสอันตรายนี้ได้
โดยใช้ประสาทสัมผัส เช่น การมองเห็น การได้ยิน หรือสัมผัสทางผิวหนัง
จำแนกออกเป็น 7 กลุ่ม
เสียง (Noise)
สั่นสะเทือน (Vibration)
ความร้อน (Heat)
ความเย็น(Cold)
รังสีแตกตัว (Ionizing Radiation)
และรังสีไม่แตกตัว (Non – lionizing Radiation)
แสงสว่าง (Light)
โรคจากความกดดันอากาศ (Pressure)
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทำงานด้านการยศาสตร์
ปัญหาการยกศสาสตร์จากการทำงานมักเกิดจากการออกแบบสถานที่ทำงานที่ไม่เหมาะสมส่งผลให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดความเครียดเมื่อยล้าจากการทำงาน และสุดท้ายส่งผลให้เกิดโรคและอุบัติเหตุจากการทำงาน
การปฏิบัติงานในลักษณะท่าทางที่ฝืนธรรมชาติ
การทำงานซ้ำซากจำเจ
การออกแบบสถานีงานเครื่องมือไม่เหมาะสมกับการทำงาน
นางสาวจุไรรัตน์ พืชภูมิ 6312436008 กศบป.สาธารณสุข