Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบบริการสุขภาพและการปฏิรูปการคลัง - Coggle Diagram
ระบบบริการสุขภาพและการปฏิรูปการคลัง
หลักการจัดระบบบริการ
หลักของเสรีภาพ(Freedom)
หลักของความเสมอภาค(Equality)
หลักของความเป็ นธรรม(Equity)
หลักของประโยชน์สูงสุด(Optimality)
ลักษณะของระบบบริการสุขภาพ
การประกนความเจ็บป่วยแบบดังเดิม(Traditional sickness
insurance)
การประกนระดับชาติ ั (Nation health insurance)
การบริการสุขภาพแห่งชาติ (National health services)
ระบบผสม (Maxed system)
ระบบสาธารณสุขของประเทศ
การจัดบริการสุขภาพแบบตลาดแข่งขัน (Entrepreneurial health system)
การจัดระบบบริการสุขภาพแบบสังคมนิยม(Socialist health system)
การจัดระบบบริการสุขภาพแบบรัฐสวัสดิการ(Welfare Oriented health system)
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
ประยุกต์แนวคิด หลักการทางเศรษฐศาสตร์มาใช้ใน การวิเคราะห์ จัดกิจกรรมและแกไขปัญหาในด้าน การให้บริการสุขภาพ
การประยุกต์หลักเศรษฐศาสตร์
พฤติกรรมของผู้ใช้บริการสาธารณสุข (Consumer behavior) และ
พฤติกรรมการจัดบริการสุขภาพ (Provider behavior)
ค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุขของประเทศ (Health care expenditure)
ระบบการคลังสาธารณสุข (Health care financing)
ระบบประกนสุขภาพ (Health Insurance)
เศรษฐศาสตร์กบการวิเคราะห์และประเมินผลเพื่อพัฒนางานบริการ
สาธารณสุข (Economic Evaluation)
ลักษณะพิเศษของเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
เป็นสินค้าคุณธรรม
มีทางเลือกสําหรับผู้บริโภค แต่อาจไม่ตรงกับ ความต้องการของผู้บริโภคทุกรายและการไม่บริโภค อาจมีผลต่อ บุคคลอื่น
มีความคุ้มค่าทางเศรษฐศาสตร์จุลภาค
มีประโยชน์สูงสุดกับประชาชนเพื่อบําบัดความจําเป็นด้านสุขอนามัยให้ได้มากที่สุด
การเงินการคลังสาธารณสุข
บัญชีสุขภาพแห่งชาติ (NHA) คือ แม่แบบของการบริหารเงินทางระบบสุขภาพจาก agency ไปสู่ค่าใช้จ่ายต่างๆ
บัญชีสุขภาพเกี่ยวกับ
*จ่ายไปทั้งหมดต่อ% GDP
*จ่ายไปกับบริการประเภทใด
*่จ่ายไปกับสาธารณะ
ปัจจัยที่มีผลส่งเสริมให้ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูง
ใช้บริการสูงขึ้นจาก
*ประชากร+ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
*ประชากรมีรายได้มากขึ้น
*มีโรคใหม่เพิ่มขึ้นจึงต้องการเทคโนโลยีที่สูงขึ้น
*มีประกนสุขภาพที่ครอบคลุมมากขึน
*การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์และความชุกของโรค
*สถาบันศาสนายังไม่สามารถจูงใจให้คนเข้าถึง หลักธรรมอยางแท้จริง
*สถาบันครอบครัวมีแนวโน้มอ่อนแอลง
*การแก้ปัญหาบูรณาการน้อยรูปแบบเดียวใช้ทั่วประเทศ
การปฏิรูปทางการคลังของระบบบริการสุขภาพ
ประเทศสหราชอาณาจักร
ประเทศเยอรมัน
ประเทศสหรัฐอเมริกา
ประเทศแคนนาดา
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศไทย
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ
ฉบับที่ 12 กับการพัฒนาคนในอนาคต
*
จุดเน้นด้านสุขภาพในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์
ส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดีตลอดช่วงชีวิต
ลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
เพิ่มประสิทธิภาพระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ
พัฒนาระบบดูแล/สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับสังคมสูงวัย
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมลํ้าในระบบสุขภาพ
จัดบริการด้านสุขภาพให้กับประชากรกลุ่มเป้าหมายฯที่อยูในพืนที่ห่างไกล
กระจายการให้บริการสาธารณสุขที่มีคุณภาพให้ครอบคลุมและทั่วถึง
สร้างและพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวประจําให้ครบทุกแห่ง
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการกําลังคนด้านสุขภาพ
วางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่สอดรับกับการออกแบบ ระบบสุขภาพและความจําเป็นด้านสุขภาพของประชาชนแต่ละพื้นที่
บูรณาการระบบการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศ
สร้างเครือข่ายกาลังคนด้านสุขภาพ ที่ประกอบด้วยภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน
ทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
อภิบาลระบบสุขภาพอยางมีธรรมาภิบาลเป็นเอกภาพ
พัฒนาระบบสนับสนุนการบริการสุขภาพ ระบบข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ การเงินการคลังด้าน สุขภาพ
รวมถึงยาและเทคโนโลยี ด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศ สู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน
สร้างความร่วมมือใน/ต่างประเทศ ในการวางระบบเฝ้าระวัง/ป้องกัน/ควบคุมโรค/ภัยสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา
ส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานการบริการด้านสุขภาพ
ระบบสุขภาพพอเพียง
มีรากฐานที่เข้มแข็งจากการมีความพอเพียงทางสุขภาพใน ระดับครอบครัวและชุมชน
มีความรอบคอบและรู้จักประมาณอยางมีเหตุผลในด้าน การเงินการคลังเพื่อสุขภาพในทุกระดับ
มีการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมและใช้อยางรู้เทาทัน โดยเน้น ภูมิปัญญาไทยและการพึ่งตนเอง
บูรณาการด้านการส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค รักษาพยาบาล ฟื้นฟูสภาพและคุ้มครองผู้บริโภค
มีระบบภูมิคุ้มกันที่ให้หลักประกันและคุ้มครองสุขภาพ
มีคุณธรรม จริยธรรมคือซื่อตรง ไม่โลภมาก และรู้จักพอ
สรุปหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพพอเพียง
การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งปี สุขภาวะ
การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจ ผู้ให้บริการมีความสุข
การสร้างระบบภูมิคุ้มกนั
การสร้างทางเลือกที่หลากหลายผสมผสานภูมิปัญญาไทยละสากล
การสร้างระบบสุขภาพฐานความรู้ด้วยการจัดการความรู้
สร้างเอกภาพและธรรมภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ