Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ประเด็นสำคัญจากโจทย์ - Coggle Diagram
ประเด็นสำคัญจากโจทย์
ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย
-
-
ความหมาย
บุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน หน่วยงาน หรือ องค์กรที่ผลการดำเนินงานของโครงการหรือแผนงานนั้นสามารถส่งผล กระทบด้านบวกและผลกระทบด้านลบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยตัวอย่าง ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้แก่ เกษตรกร ผู้ประกอบการ ร้านค้า ชุมชน หน่วยงานภาครัฐ หรือองค์กรมูลนิธิที่ไม่แสวงหาผลกำไร (NGOs) เป็นต้น
-
-
การเก็บรวบรวมข้อมูล
-
-
ความหมาย
กระบวนการที่จะได้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และได้ข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้องและเป็นปัจจุบันเพื่อนำมาวางแผนที่เป็นขั้นตอน และเลือกใช้เครื่องมือและเทคนิคการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม
-
-
-
-
ความหมาย
ปัญหาจากความต้องการของชุมชนเอง จะต้องตระหนักว่าต้องแก้ไขปัญหาอย่างไร โดยปัญหาจะเป็นจากความต้องการของเจ้าหน้าที่ หรือปัญหาสุขภาพของชุมชนกับเจ้าหน้าที่ร่วมกัน ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 เรื่อง คือ สิ่งที่ควรจะเป็น สิ่งที่ปรากฏ ความวิตกกังวล
ปัญหาชุมชนด้านสุขภาพอนามัย เกิดจากโรค พฤติกรรมเสี่ยงหรือปัจจัยเสี่ยงที่นำไปสู่การเกิดโรค ซึ่งมีหลักในการพิจารณา ดังนี้
- การเกิดโรค ปัญหาสุขภาพ การบาดเจ็บ ซึ่งดูได้จากอัตราการเสียชีวิตในชุมชนนั้น
- พิจารณาจากปัจจัยเสี่ยง เป็นพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ของชุมชน เป็นค่านิยมหรือความเชื่อทางสุขภาพที่ไม่เหมาะสม
พยาบาลอนามัยชุมชน
-
-
- การนำความรู้ทางการพยาบาลมาใช้ในการพยาบาล โดยวางแผนให้เหมาะสมกับความต้องการของชุมชน โดยบริการด้านสุขภาพ ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู
- เป็นผู้ให้ความรู้ พิทักษ์ผลประโยชน์ของตนเองประชาชนในการเข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ ประสานงานกับทุกระดับ รวมถึงเป็นผู้นำด้านสุขภาพ ด้านการเปลี่ยนแปลง เป็นนักวิจัย ให้คำปรึกษาผู้ที่มีปัญหาสุขภาพร่างกาย และจิตใจ
- มีบทบาทบริการเชิงรุก ป้องกัน ส่งเสริม ฟื้นฟู เช่นคลินิตรวจสุภาพ บริการวางแผนครอบครัว ปรับบทบาทให้ประชาชนมีบทบาทในการดูแลสุขภาพตนเอง บริการเพื่อสุขภาพ องค์รวม ผสมผสาน เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ลดความเสี่ยงการเกิดโรค ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู และจัดการสุขภาพเพื่อให้คงไว้ซึ่งสุภาพที่ดี
- เป็นผู้ที่มีความรู้ในการปฎิบัติการพยาบาล สามารถนำมาประยุกต์อย่างมีขอบเขตที่กว้าง ป้องกัน ส่งเสริม รักษา คงไว้ซึ่งสุขภาพของครอบครัว
- เป็นผู้บริการด้านสุขภาพดูแลบุคคลทั้งป่วยและไม่ป่วย เป็นครูสอนให้สุขศึกษา พิทักษ์ผลประโยชน์ ผู้บริหารจัดการผู้ประสานงานทุกระดับ ผู้นำ ด้านสุขภาพ การเปลี่ยนแปลง กระตุ้น ผู้วิจัย ผู้ให้คำปรึกษาจักการโครงการ
- พยาบาลชุมชน คือ ผู้ที่ปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้ศาสตร์ปรัชญาทางการพยาบาลมาให้การบริการสุขภาพแบบเข้าถึงประชาชนที่บ้านซึ่งการบริการรูปแบบนี้เป็นการบริการสุขภาพที่ประกอบด้วยการลดความเสี่ยงของการเกิดโรคการส่งเสริมการป้องโรคและการฟื้นฟูสภาพให้กับประชาชนโดยพยาบาลชุมชนจะมีการจัดการดูแลสุขภาพรวมทั้งการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพหลักการเฝ้าระวังติดตามและประเมินผลภาวะสุขภาพของประชาชนในชุมชนเพื่อให้ประชาชนในชุมชนคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพที่ดี
สรุปความหมาย ให้การดูแลสุขภาพแบบครบวงจร ทุกช่วงอายุ บูรณาการความรู้ศาสตร์สาขาต่างๆ วิทยาการระบาด โภชนาการเป็นต้น เพื่อให้มีประสิทธภาพคงอยู่อย่างยั่งยืน
บทบาทหน้าที่ บริการด้านสุขภาพ ให้ความรู้ ประสาน ให้ความร่วมมือ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
-
-
กิจกรรมสาธารณะประโยชน์
ความหมาย
- กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้บุคคลบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม และการมีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
- เป็นกิจกรรมนันทนาการเพื่อสังคมที่ส่งเสริมในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมการให้และการรับความร่วมมือของชุมชนอันจะก่อให้เกิดความพึงพอใจ
3.กิจกรรมเพื่อสังคม บำเพ็ญประโยชน์ในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อขัดเกล้า เมตตากรุณา นันทนาการ เพื่อสังคมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม การให้ การรับความร่วมมือให้เกิดความพึ่งพอใจ
- เพื่อสังคม บำเพ็ญตนให้เป็นประโยช์ สมัครใจแสดงถึงเมตากรุณา แสดงออกถึงความเสียสละ
5.ทำเพื่อสังคม สาธารณประโยชน์ โรงเรียนหรือนักเรียนเป็นผู้เริ่ม เช่น ค่าอาสา ซ่อมบำรุง กืจกรรมเพื่อผู้ด้อยโอกาส เช่น ลูกเสือชาวบ้าน การทำความสะอาดชุมชน ทอดผ้าป่า กิจกรรมร่วมบริจาคโลหิต นักเรียนร่วมกันทำความสะอาด จิตอาสาหน่อยเลือกตั้ง
หลักการ
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์ออกแบบกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์ อย่างหลากหลายรูปแบบ เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะจิตอาสา
รายงานผู้บังคับบัญชา
รายงานผู้บังคับบัญชา หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า บันทึกผู้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นหนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ จัดอยู่ในชนิดที่ 6 คือ หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐาน (เช่น หนังสือรับรอง รายงานการประชุม บันทึก หนังสืออื่นๆ เป็นต้น)
รายงานผู้บังคับบัญชา หมายถึง ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้บังคับบัญชาสั่งการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความที่เจ้าหน้าที่หน่วยงานระดับต่ำกว่ากรมติดต่อกันในการปฏิบัติราชการ ในที่นี้จะแบ่งประเภทของบันทึกออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ บันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา เป็นบันทึกชนิดหนึ่ง ซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาทำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา ซึ่งการทำบันทึกเสนอผู้บังคับบัญชา แยกออกเป็น 2 วัตถุประสงค์ ดังนี้ สำหรับบันทึกภายใน มีวัตถุประสงค์เพื่อ
1.เพื่อต้องการให้ผู้บังคับบัญชาทราบ หรือเพื่อสั่งการ (อนุมัติ/อนุญาต) หรือเพื่อขอความคิดเห็น คำแนะนำ
2.เพื่อให้ผู้บังคับบัญชารับทราบ หรือเพื่อขอความร่วมมือ หรือเพื่อขอความเห็น หรือเพื่อให้ดำเนินการตัดสินใจ หรือเพื่อให้รับทราบเรื่องนั้นๆ บันทึกสั่งการของผู้บังคับบัญชา
การเขียนบันทึกรายงาน
คือ ข้อความซึ่งผู้ใต้บังคับบัญชาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา หรือ ผู้บังคับบัญชาสั่งการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือข้อความที่เจ้าหน้าที่ หน่วยงานระดับต่ำกว่ากรมติดต่อกันในการปฏิบัติราชการ
-
-
-
1.1 การรายงาน (กรณีติดเชื้อ)
- ผู้ยื่นรายงาน: ผู้ให้บริการที่ได้รับความเสียหาย/คู่สมรส/บุพการี หรือผู้สืบสันดาน/ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้นเป็นผู้ยื่นรายงาน โดยรายงาน เป็นหนังสือ ภายใน 72 ชั่วโมง นับแต่วันทราบเหตุหรือทราบความเสียหาย หากมีเหตุผลความจำเป็นที่ไม่สามารถรายงานเป็นหนังสือได้ทันที ให้รายงานโดย วาจาไปก่อน แล้วบันทึกการรายงานนั้นลงในหนังสือว่าได้รายงานใครไปเมื่อใด
-ผู้ควบคุม: เมื่อผู้ควบคุมได้รับรายงานแล้ว รายงานต่อไปยังหัวหน้าหน่วยบริการ ภายใน 48 ชั่วโมง นับแต่ได้รับรายงาน
-หัวหน้าหน่อยบริการ: 1.จัดให้มีการตรวจร่างกาย/ตรวจทางห้องปฏิบัติการ ทันทีหรืออย่างช้า ภายใน 72 ชั่วโมง นับแต่ได้รับรายงาน 2.หากพบว่าติดเชื้อ ให้รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น จนถึงปลัดกระทรวง สาธารณสุข ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ทราบผลการตรวจร่างกาย และหรือตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด: ปลัดกระทรวงสาธารณสุข รับรายงานแจ้งเหตุฯ (นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด รับมอบอำนาจการปฏิบัติหน้าที่แทนปลัดกระทรวง สาธารณสุขในการรับรายงานแจ้งเหตุ)รายงานแจ้งเหตุที่ปลัดกระทรวงสาธารณสุขรับทราบเหตุแล้ว ให้ถือว่าการรายงานดังกล่าวสมบูรณ์เมื่อยื่นรายงานไปถึงนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดรับทราบ และให้ส่ง ต้นฉบับคืนหน่วยบริการเพื่อแนบประกอบการยื่นคำร้องฯ ต่อไป หาก สสจ. ประสงค์เก็บให้สำเนาไว้ได้
-
ขั้นตอนที่ 2 การยื่นคำร้องขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้นฯ ทั้ง 2 กรณี (กรณีติดเชื้อ และ กรณีนอกจากการติดเชื้อ)
-
แบบที่ 2 คู่สมรส,บุพการี,ผู้สืบสันดาน เป็นผู้ยื่นแทน
แบบที่ 3 ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บังคับบัญชาชั้นต้น เป็นผู้ยื่นแทน (เลือกใช้เพียงแบบเดียว ให้ตรงตามความจำเป็นในการยื่น โดยพิจารณาตามลำดับ เช่น หากเจ้าตัวยื่นเองได้ ให้พิจารณาเป็นอันดับแรก)
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัด : สสจ.พิจารณาคำร้องฯ ให้ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับระยะเวลาการรายงานแจ้งเหตุ ระยะเวลาการยื่นคำร้องฯ การระบุสาเหตุ การระบุสิทธิของผู้ป่วยที่ทำให้เกิดความเสียหาย การแจ้งข้อมูลความรุนแรงที่ได้รับ ความเสียหาย เพื่อให้ความเห็นต่อคณะกรรมการฯ ว่ากรณีที่ยื่นคำร้องเข้ามานั้น สมควรได้รับการพิจารณา วินิจฉัยต่อไปตามอำนาจของคณะกรรมการและเป็นไปตามระเบียบหรือไม่
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข : ปลัดกระทรวงสาธารณสุขรับคำร้องจากหัวหน้าหน่วยบริการแล้วส่งเรื่องให้คณะกรรมการฯ ภายใน 15วัน เพื่อดำเนินการต่อไป
-