Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ, image, image, image - Coggle Diagram
การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
การพยาบาลเพื่อการจัดการปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
1.1 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ
1.1.1 การเปลี่ยนแปลงของรํางกายที่สํงผลกระทบตํอภาวะโภชนาการผู้สูงอายุ
1.1.1.2 การทำหน้าที่ของกระเพาะอาหารลดลง โดยหลั่งกรดไฮโดร
คลอริคและเปปซินลดลง ทำให้ยํอยโปรตีนได้น้อยลง
1.1.1.3 ประสิทธิภาพการเผาผลาญกลูโคสลดลง เนื่องจากตับอํอนหลั่งอินสุลินลดลง
1.1.1.1 การทำหน้าที่ของการรับรสและการดมกลิ่นลดลง
1.1.1.4 เนื้อเยื่อที่ปราศจากไขมันลดลง ทำให้ผู้สูงอายุดูผอมลง แตํน้ำหนักไมํลดลง
1.1.1.5 ความต้องการพลังงานขั้นพื้นฐานลดลง
1.1.2 ปัญหาทางด๎านจิตใจ เชํน ภาวะซึมเศร๎า ความเหงาจากการเกษียณ คูํครองเสียชีวิต ลูกหลานทอดทิ้ง
1.1.3 ปัญหาการเจ็บปุวยทางรํางกาย เชํน ภาวะทุพพลภาพ การได้รับยาหลายชนิดรํวมกัน
1.1.4 ภาวะโภชนาการเดิมที่เป็นอยูํและบริโภคนิสัย ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารในอดีตจนถึงปัจจุบัน
1.1.5 ความสามารถในการเข้าถึงแหลํงอาหาร เชํน การเดินทาง การขนสํงที่สะดวก
1.1.6 ภาวะเศรษฐกิจและสังคม ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมทำให้กระทบถึงภาวะโภชนาการของผู้สูงอายุได้
1.2 ความต้องการสารอาหารในผู้สูงอายุ
1.2.1 ความต้องการพลังงาน ผู้สูงอายุมีความต๎องการพลังงานลดลงเนื่องจากการเผาผลาญในรํางกายลดลง รํวมกับมีกิจกรรมตํางๆ ลดลง พลังงานที่ผู๎สูงอายุควรได้รับ ผู้สูงอายุชายวันละ 2,250 กิโลแคลอรี่ ผู้สูงอายุหญิงวันละ 1,850 กิโลแคลอรี่ ไมํควรได้รับน๎อยกวํา 1,200 กิโลแคลอรี่
1.2.2 ความต้องการโปรตีน ผู้สูงอายุต๎องการโปรตีนเพื่อซํอมแซมสํวนที่สึกหรอของรํางกายมากกวําวัยหนุํมสาว ควรเลือกรับประทานโปรตีนที่มีคุณภาพสูง เชํน เนื้อปลา เนื้อไมํติดมัน ปลา
1.2.3 ความต้องการไขมัน ผู้สูงอายุควรได๎รับไขมันไมํเกิน 30% ของพลังงานทั้งหมด ควรลดไขมันอิ่มตัว เชํน น้ำมันมะพร๎าว กะทิ
1.2.4 ความต้องการคาร์โบไฮเดรต ผู้สูงอายุควรได้รับคาร์โบไฮเดรต 50-55 % ของพลังงานทั้งหมด
1.2.5 ความต้องการแรํธาตุ ผู้สูงอายุต้องการแรํธาตุเทําในวัยผู้ใหญํ แรํธาตุที่ผู้สูงอายุมักขาด คือ แคลเซียมและเหล็ก เนื่องจากกระเพาะอาหารดูดซึมได้น้อยลง
1.2.6 ความต้องการวิตามิน ผัก ผลไม้เป็นแหลํงอาหารที่ให้วิตามิน เกลือแรํ ใยอาหารและสารแอนติออกซิแดนท์ ซึ่งชํวยต้านอนุมูลอิสระ วิตามินซี มีมากใน ส๎ม มะละกอ ฝรั่ง สับปะรด พริก
1.2.7 ความต้องการน้ำ ผู้สูงอายุควรได้รับน้ำไมํต่ำกวํา 1,500 ml : day
1.3 การประเมินภาวะโภชนาการ
1.3.1 การประเมินอาหารที่บริโภค (dietary assessment) โดยวิธีการซักประวัติอาหาร ซึ่งมีวิธีที่ใช๎บํอยคือ
(2) การสำรวจความถี่ของการได้รับอาหาร
(3) การเฝูาดูการบริโภคอาหารและการบันทึก
(1) การประเมินปริมาณอาหารที่รับประทานใน 24 ชั่วโมงที่ผํานมา
1.3.2 การวัดสัดส่วนของร่างกาย (anthropometric assessment)
1.3.2.1 การประเมินดัชนีความหนาของรํางกาย (body mass index: BMI)
1.3.3 การวัดความหนาไขมันใต้ผิวหนัง (skinfold thickness)
1) ในผู้หญิง บริเวณหลังแขน (Triceps) วัดตรงระหวํางกลางของชํวง
ข๎อศอกกับหัวไหลํ แล้วหนีบในแนวตั้ง บริเวณท้องด้านข้าง (Supra iliac) วัดให้เหนือจากด้านหน้าของกระดูกเชิงกราน หนีบในแนวเฉียงตามลักษณะของกระดูกเชิงกราน บริเวณหน๎าขา (Thigh) วัดตรงกลางของทํอนขาด๎านหน๎าชํวงบน หนีบในแนวตั้ง
2) ผู้ชาย บริเวณหน้าท้อง ใกล้กับสะดือ (Abdomen) วัดหํางจากสะดือประมาณ 2 cm แล๎วหนีบในแนวตั้ง บริเวณหน้าอก (Chest) วัดบริเวณกึ่งกลางระหวํางหัวนม และ รักแร้ โดยหนีบในแนวเฉียง บริเวณหน้าขา (Thigh) วัดตรงกลางของทํอนขาด้านหน้าชํวงบน หนีบในแนวตั้ง เมื่อได๎คําทั้ง 3 จุดแล้วก็นำค่านั้นมารวมกัน แล้วหารด้วย 3 ออกมาเป็นคําเฉลี่ย แล้วนำมาเทียบในตารางด้านลําง
1.3.4 การตรวจวัดค่าทางชีวเคมี เชํน ภาวะซีดประเมินจากความเข้มข้นของเลือด
1.3.5 การประเมินทางคลินิก ประกอบด้วย การซักประวัติ และการตรวจร่างกาย
1.3.6 การคัดกรองภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุโดยใช้แบบประเมิน ได้แก่ แบบประเมินภาวะโภชนาการ MNA , แบบประเมิน NAF , แบบประเมิน Thai NRC
1.4 ปัญหาภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุและแนวทางการพยาบาล
1.4.1 แนวทางการพยาบาล ภาวะโภชนาการเกิน (over nutrition)
1.4.1.2 สํงเสริมการควบคุมน้ำหนักให้อยูํในเกณฑ์ปกติ โดยการลดปริมาณแคลอรี่ 500 – 1,000 จากเดิม แบํงจำนวนมื้อให้เทํากันและสม่ำเสมอ ลดการบริโภคอาหารที่มีไขมันอิ่มตัว คาร๑โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว (Simple Carbs) หรืออาจเรียกวําน้ าตาลเชิงเดี่ยว มักพบในน้ำตาลที่ผ่านการขัดสี
1.4.1.3 ให้ความรู๎การรับประทานอาหารที่เหมาะสม หากมีปัญหาน้ำหนักเกินมาก
1.4.1.1 ประเมินสาเหตุของภาวะโภชนาการเกิน
1.4.2 ภาวะโภชนาการต่ำ (under nutrition)
1.4.2.1 ประเมินสาเหตุของภาวะทุพโภชนาการ
1.4.2.2 การจัด/ปรับปริมาณอาหารให้ผู้สูงอายุให้เหมาะสม ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการกิน การจัดอาหารให้แก่ผู้สูงอายุ ต้องคำนึงถึงสภาพร่างกายด้านการเคี้ยว การกลืนอาหาร
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
2.1 ประโยชน์ของการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ
2.1.1 ทำให้ร่างกายมีสมรรถภาพทางกายดีขึ้น ดังนี้ ลดอัตราการเสื่อมของกระดูก ทำให้การประสานงานของกล้ามเนื้อดีขึ้น เพิ่มมวลกล้ามเนื้อ ทำให้หัวใจแข็งแรงขึ้น ความดันโลหิตลดลง
2.1.2 ลดอัตราการเกิดโรคที่ป้องกันได้ เชํน หัวใจ อ้วน ความดันโลหิตสูง ชะลอความเสื่อมของรํางกาย เม็ดเลือดแดงได้รับออกซิเจนเพิ่มขึ้น ลดอัตราการเสื่อมของกระดูก
2.1.3 ลดภาวการณ์พึ่งพา ลดภาวะทุพพลภาพ
2.1.4 ด้านจิตใจ ลดภาวะซึมเศร้า เนื่องจากตํอมใต้สมองหลั่งสาร
เอ็นดอร์ฟินส์ความวิตกกังวล แบบแผนการนอนเป็นปกติ
ประเภทของการออกกำลังกายและการออกกำลังกายที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
2.2 ประเภทของการออกกำลังกาย แบํงเป็น 3 ประเภท คือ
ประเภทที่ 2 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพของปอดและหัวใจ แบํงเป็น 2 กลุํม ดังนี้
1) การออกกำลังกายที่ต้องใช้ออกซิเจนจำนวนมากโดยสม่ำเสมอและติดตํอกัน(aerobic exercise)
2) การออกกำลังกายที่ไมํได๎ใช๎ออกซิเจนอยํางสม่่ำเสมอหรือใช้แตํน้อย
ประเภทที่ 3 การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นและการผ่อนคลายเป็นการออกกำลังกายที่กระทำซ้ำ ๆ กันคล้ายการยืด (stretching) กล้ามเนื้อและเอ็น
ประเภทที่ 1 การออกกำลังกายที่เพิ่มความแข็งแรงและทนทานของกล้ามเนื้อ แบ่งเป็น 2 ชนิด ได้แก่
1) การออกกำลังกายที่ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่ (isometric exercise)
2) การออกกำลังกายที่กล้ามเนื้อมีการเปลี่ยนแปลงความยาว
(isotonic exercise)
2.3 แนวทางการจัดโปรแกรมการออกกำลังกายในผู้สูงอายุ
2.3.1 ตรวจรํางกายวําไมํมีความเจ็บป่วย หากมีปัญหาสุขภาพควรปรึกษาแพทย์เพื่อดัดแปลงหรือเลือกรูปแบบให้เหมาะสม
2.3.2 ประเมินระดับการทำกิจกรรม การเคลื่อนไหวของข้อ ความแข็งแรงและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
2.3.3 เลือกรูปแบบการออกกกำลังกายที่ผู้สูงอายุชอบ และถนัด หรือมีความสนใจ ความสามารถคำนึงถึงข๎อจำกัดและโรคประจำตัวของผู้สูงอายุ
2.3.5 ผู้สูงอายุที่มีข้อจำกัดควรประยุกต์การออกกำลังกายในกิจวัตรประจำวัน เชํน ทำสวน เดินเร็ว ทำงานบ้าน เป็นต้น
2.3.6 หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่เป็นการแขํงขัน
2.3.4 เน้นการออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ ความเร็วต่่ำ หลีกเลี่ยงการออกกำลังกายที่ความยาวของกล้ามเนื้อคงที่ (isometric exercise)
2.3.7 สิ่งที่บํงชี้ปริมาณการออกกำลังกายที่เหมาะสมและมีประโยชน์ตํอ
รํางกายไ้ดี ได้แกํ อัตราการเต้นของหัวใจ ซึ่งเป็นคําเป้าหมายที่อยูํระหวํางร้อยละ 60-80
2.3.8 ควรมีการอบอุํนรํางกาย warm up และผํอนคลายร่างกาย cool down กํอนและหลังการออกกำลังกายทุกครั้ง ครั้งละ 5 – 10 นาที
2.3.9 ออกกำลังกายอยํางตํอเนื่อง 20-30 นาที 3-5 ครั้ง/สัปดาห์
2.3.10 กํอนออกกำลังกาย ขณะออกกำลังกายและหากออกกำลังกายเกิน 1 ชั่วโมง ควรดื่มน้ำ 1 แก้วทุก 15-20 นาทีเพื่อชดเชยน้ำที่เสียไปจากเหงื่อ หรือชดเชยด้วยน้ำเกลือแรํ
การพยาบาลเพื่อการส่งเสริมการพักผ่อนนอนหลับในผู้สูงอายุ
3.1 กลไกทางสรีรวิทยาของการนอนหลับในผู้สูงอายุ
3.1.1 NREM (non rapid eye movement) เป็นระยะที่ไมํมีการกลอกตาอยํางรวดเร็ว แบํงเป็น 4 ระยะ
stage 2 NREM ระยะเริ่มงํวง (drowsy)
stage 3 NREM ระยะหลับลึก
stage 1 NREM ระยะเริ่มหลับหรือเคลิ้มๆ (falling asleep)
stage 4 NREM ระยะหลับลึก (deep sleep)
3.1.2 REM (rapid eye movement)
3.2 แบบแผนการนอนหลับในผู้สูงอายุ
3) ระยะ REM ลดลง ร๎อยละ 20-25 ของระยะเวลานอนทั้งหมด
4) ตื่นเป็นระยะ 1-2 ครั้งตํอคืน
2) ระยะ stage 3 4 NREM ลดลง ร้อยละ 15 – 20 ของระยะเวลานอนทั้งหมด
5) ตื่นเร็วกวําเดิม และงีบหลับ (nap) ในตอนกลางวันเพิ่มขึ้น
1) ระยะ stage 1 NREM เพิ่มขึ้น ร้อยละ 8-15 ของระยะเวลานอนทั้งหมด
3.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
3.2.1 ปัจจัยภายในรํางกาย ได้แกํ ความเจ็บปวดมีผลทำให้เกิดความไมํสุขสบาย
3.2.2 ปัจจัยภายนอกรํางกาย ได้แกํ เสียงรบกวนทำให้ระยะกํอนเคลิ้มนานขึ้น
3.4 การประเมินภาวะนอนไม่หลับ
3.4.2 ตรวจสอบประวัติโรคประจำตัว
3.4.3 ตรวจสอบประวัติการใช้สารเสพติด
3.4.1 คำถามเบื้องต้นสำหรับการประเมินการนอน
3.4.4 สังเกตอาการและอาการแสดง
3.5 การพยาบาลเพื่อส่งเสริมการนอนหลับ
เข้านอนและตื่นนอนให้ตรงเวลา
เข้านอนเมื่อรู้สึกงํวงเทํานั้น
จัดสิ่งแวดล้อมที่เงียบสงบปราศจากสิ่งรบกวน
ที่นอนหมอนที่อํอนนุํมหรือไมํแข็งเกินไป
กํอนเข้านอนควรทำความสะอาดร่างกาย ปากฟัน ปัสสาวะก่อนเข้านอน
6.หลีกเลี่ยงคาเฟอีน
การจัดการความเครียดในผู้สูงอายุ (Stress management)
4.1 สาเหตุของความเครียด
4.1.2 สาเหตุด้านจิตใจ
4.1.3 สาเหตุด้านสังคม
4.1.1 สาเหตุด้านรํางกาย
4.2 การตอบสนองต่อความเครียด
4.2.1 การสนองตอบทางด้านรํางกาย
4.2.2 การสนองตอบด้านจิตใจเมื่อเกิดความเครียด
4.2.2.1 การหนีและเลี่ยง (Flight)
4.2.2.2 ยอมรับพร้อมกับเผชิญกับภาวะเครียด (Fight)
4.2.2.3 เรียนรู้ที่จะอยูํกับความเครียด (Coexistence)
4.3 การประเมินความเครียด
4.3.1 การประเมินโดยใช้แบบสอบถาม
4.3.2 การสังเกตและสัมภาษณ์บุคคลหรือผู้ใกล้ชิด
4.3.3 การตรวจรํางกาย เพื่อดูความผิดปกติของรํางกาย
4.3.6 การวัดความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
4.3.4 การตรวจทางห้องทดลอง
4.3.5 การใช้เทคนิคการฉายภาพ
4.4 การจัดการต่อความเครียด
4.4.1. การจัดการกับความเครียดโดยมุ่งแก้ไขปัญหา (problem-focused coping)
4.4.1.1 การเผชิญกับปัญหา (confrontive coping)
4.4.1.2 วางแผนแก้ไขปัญหา (planful problem solving)
4.4.2 การปรับแก้โดยมุ่งปรับอารมณ์ (emotion-focused coping)
การนันทนาการในผู้สูงอายุกับการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
5.1 ความหมายนันทนาการ หมายถึง กิจกรรมที่ทำตามสมัครใจในยามวําง เพื่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลินและผํอนคลายความตึงเครียด การสราญใจ
5.2 คุณลักษณะของนันทนาการ
(1) ต้องมีการกระทำ (Activity) คือ มีการแสดงออกถึงการ กระทำ หรือกระทำ
(2) ต้องเข้ารํวมกิจกรรมด้วยความสมัครใจ (Voluntary)
(3) กิจกรรมนั้นต้องกระทำในเวลาวําง (Free Time) คือเวลานอกเหนือจากกิจวัตรประจำวัน
(5) กิจกรรมนั้นต้องสร้างความพึงพอใจ ให้แกํผู้เข้ารํวมกิจกรรมโดยตรงและทันที
5.3 ประโยชน์ของกิจกรรมนันทนาการต่อผู้สูงอายุ
ด้านรํางกาย เมื่อปฏิบัติกิจกรรมหรือเข้ารํวมกิจกรรมทางกายอยําง
ด้านจิตใจ นำไปสูํการมองโลกในแงํดี
ด้านสติปัญญา ฝึกให้สมองได้คิดวางแผน เชํน เกมใบ้คำ การเขียนกลอน
ด้านสังคมเปิดโอกาสแกํผู้สูงอายุในการมีบทบาทในสังคม ได้ชํวยเหลือสังคมของตน
การพยาบาลเพื่อการจัดสิ่งแวดล้อมสำหรับผู้สูงอายุ (Environment)
6.1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงร่างกายที่ส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บเนื่องจากการมีสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมในผู้สูงอายุ
6.2 สิ่งแวดล้อมของที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุ
การมีส่วนร่วมในสังคม (Social Participation)
การป้องกันภาวะพลัดตกหกล้ม (Prevention of Fall)
ปัจจัยเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ
1) ปัจจัยภายในบุคคล (Intrinsic factor) ที่เป็นสาเหตุของการเกิดพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ได้แกํ ปัจจัยที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของกระบวนการเสื่อมของรํางกายตามวัย
ปัจจัยภายนอกบุคคล (Extrinsic factor) หรือปัจจัยที่เกิดจากสภาพแวดล๎อม